436 308 การออกแบบโรงงานประกอบรถยนต์ Automotive Assemble Plant Design
436308 การออกแบบโรงงานประกอบรถยนต์ (Automotive Assemble Plant Design ) คำอธิบายรายวิชา : ศึกษาการออกแบบวางสายการผลิตเพื่อประสิทธิภาพสูงสุด การศึกษาระบบ อัตโนมัติในการประกอบยานยนต์ การวางแผนการผลิตด้วยวิธีการต่าง ๆ การวางแผน ระบบชิ้นส่วนคงคลัง มาตรฐานและการทดสอบคุณภาพยานยนต์ การออกแบบระบบ โรงงานประกอบรถยนต์ประเภทอื่น ๆ มีการศึกษาดูงานโรงงานประกอบรถยนต์ ตำราหลักที่ใช้ : Operations Management, International Student Edition, 9th edition ผู้แต่ง Stevenson สำนักพิมพ์ McGraw-Hill การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ ผู้แต่ง Jay Heizer & Barry Render
เนื้อหาโดยสังเขป การบ้านและกิจกรรมกลุ่ม 20% กลางภาค 40% ปลายภาค 40% บทที่ 1 และ บทที่ 2 การจัดการองค์กรและการจัดการการปฏิบัติการ บทที่ 6 การวางผังการผลิต บทที่ 9 และ บทที่ 10 การควบคุมคุณภาพ บทที่ 11 และ บทที่ 12 การจัดการโซ่อุปทานและการจัดการสินค้าคงคลัง บทที่ 13 และ บทที่ 14 การจัดตารางการผลิตและการวางแผนการผลิต บทที่ 15 และ บทที่ 16 การผลิตแบบลีนและการวางแผนงาน บทเพิ่มเติม การวัดประสิทธิภาพการผลิตและ KPIs ในการผลิต การบ้านและกิจกรรมกลุ่ม 20% กลางภาค 40% ปลายภาค 40%
Scope Operations Management includes: Capacity planning chapter 6 Assuring quality chapter 9, 10 Supply chain management chapter 11 Inventories chapter 12 Aggregate planning chapter 13 MRP chapter 14 Lean operation chapter 15 Scheduling chapter 16 KPIs
Introduction Operations Management is: The management of systems or processes that create goods and/or provide services Operations Management คือ การจัดการการปฏิบัติการระบบหรือกระบวนการในการผลิตสินค้าและการให้บริการ
The Organization The Three Basic Functions of business organizations. Operations Finance Marketing Organization The Three Basic Functions of Business Organizations (ฟังก์ชั่นเบื้องต้นขององค์กร) 1.การตลาด (Marketing) 2.การผลิต (Production) / การปฏิบัติการ (Operations) 3.การเงิน (Finance) / การบัญชี (Accounting)
The Basic Functions Marketing – generates demand Production/operations – creates the product Finance/accounting – tracks how well the organization is doing, pays bills, collects the money The Three Basic Functions of Business Organizations (ฟังก์ชั่นเบื้องต้นขององค์กร) 1.การตลาด (Marketing) ทำหน้าที่ ตอบสนองความต้องการ (demand) ให้กับตลาด เช่น การโฆษณา การประชาสัมพันธ์และงานแสดงโชว์สินค้าลดราคา 2.การผลิต (Production) / การปฏิบัติการ (Operations) ทำหน้าที่ สร้างสินค้าและบริการ 3.การเงิน (Finance) / การบัญชี (Accounting) ทำหน้าที่ ตรวจสอบ เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ผลการดำเนินงานขององค์กร
Supply Chain Supply Chain: A sequence of activities Suppliers’ Suppliers Direct Suppliers Producer Distributor Final Consumer Supply Chain: A sequence of activities And organizations involved in producing And delivering a good or service Supply Chain: การจัดลำดับงานหรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดหาวัตถุดิบ การให้บริการการแปรสภาพวัตถุดิบสินค้าและการนำส่งสินค้าและบริการให้แก่ลูกค้า
Value-added The operations function involves the conversion of inputs into outputs Inputs Land Labor Capital Transformation/ Conversion process Outputs Goods Services Control Feedback Value added Value – Added Process (VAP) คือ กระบวนการเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าและบริการ กระบวนการผลิต (Transformation /Conversion process) จะแปรสภาพปัจจัยนำเข้า (Input) เช่น แรงงาน ต้นทุน และวัตถุดิบ ให้ออกมาในรูปของปัจจัยนำออก (Output) คือ สินค้าและบริการ ซึ่งกระบวนการผลิตให้ได้สินค้าหรือบริการนั้นก็ขึ้นกับปัจจัยต่าง ๆ และเพื่อให้ประสิทธิภาพของผลผลิตเพิ่มขึ้นต้องได้ปัจจัยนำออกสูงกว่าปัจจัยนำเข้า โดยการใช้ปัจจัยนำเข้าในปริมาณเท่าเดิม
Food Processor Inputs Processing Outputs Raw Vegetables Cleaning Canned vegetables Metal Sheets Making cans Water Cutting Energy Cooking Labor Packing Building Labeling Equipment ระบบร้านอาหาร Input วัตถุดิบ น้ำ พลังงาน บริกร อุปกรณ์ครัว Process การทำความสะอาดวัตถุดิบ การปรุงอาหาร Output อาหาร ความพอใจของลูกค้า
Hospital Process Inputs Processing Outputs Doctors, nurses Examination Healthy patients Hospital Surgery Medical Supplies Monitoring Equipment Medication Laboratories Therapy ระบบโรงพยาบาล Input แพทย์ พยาบาล เครื่องมือเวชภัณฑ์ Process วินิจฉัย รักษา ผ่าตัด ฉีดยา Output ผู้ป่วยมีสุขภาพดีขึ้น
Example : ห้างสรรพสินค้า Inputs Processing Outputs อาจารย์ การเรียนการสอน นักศึกษามีความรู้ เจ้าหน้าที่ การทำวิจัย อุปกรณ์การสอน ห้องเรียน การบริการสังคม งานวิจัย Example : ห้างสรรพสินค้า Inputs Processing Outputs สินค้า การซื้อขายสินค้า ลูกค้าได้รับสินค้าตรง ตามความต้องการ พนักงานขาย สถานที่ พลังงาน
Example : โรงงานผลิตรถยนต์ Inputs Processing Outputs โลหะแผ่น ประกอบ รถยนต์ที่มีคุณภาพ ชิ้นส่วนเครื่องยนต์ ขึ้นรูป พนักงาน พลังงาน Example : สายการบิน Inputs Processing Outputs เครื่องบิน จองตั๋วโดยสาร การเคลื่อนย้ายคน สิ่งของจากที่หนึ่ง ไปอีกที่หนึ่ง ลูกเรือ ขนส่งผู้โดยสาร กัปตัน บริการบนเครื่องบิน พนักงาน
The goods-service continuum Automobile assembly, steel making Home remodeling, retail sales Automobile Repair, fast food Computer repair, restaurant meal Song writing, software development Goods Service Surgery, teaching ความแตกต่างระหว่างสินค้าและบริการ ที่ปรึกษา การสอน โฆษณา บริหารการลงทุน คอมพิวเตอร์ ร้านอาหาร งานติดตั้ง อาหารจานด่วน ซ่อมบ้าน ยานยนต์
Goods & Service Characteristic Goods Service Customer contact Low High Uniformity of input Labor content Uniformity of output Output Tangible Intangible Measurement of productivity Easy Difficult Opportunity to correct problems Inventory Much Little Evaluation Easier Patentable Usually Not usual คุณลักษณะ (Characteristic) สินค้า (Goods) บริการ (Service) Customer contact (ประติสัมพันธ์) Low มีความเป็นบริการสูง Uniformity of input (ความเหมือนกันของ input) Input ที่นำเข้าไม่มีความแตกต่างกันมาก บริการเลือก input ไม่ได้เพราะมีความหลากหลาย Labor content (จำนวนแรงงาน) จำนวนแรงงานน้อย (เมื่อเทียบจำนวนสินค้ากับจำนวนแรงงาน)จำนวนแรงงานมาก Uniformity of output(ความเหมือนกันของ output) Output ที่ได้มีความสม่ำเสมอกัน Output ที่ได้ไม่มีความสม่ำเสมอกัน Output (ปัจจัยนำออก) มีตัวตน ไม่มีตัวตน Measurement of productivity (การวัดประสิทธิภาพการผลิต)วัดได้ง่าย วัดยาก Opportunity to correct problem (โอกาสในการแก้ปัญหาให้ถูกต้อง)โอกาสในการแก้ปัญหาให้ถูกต้องมีสูง โอกาสในการแก้ปัญหายาก Inventory (วัสดุคงคลัง) มาก ไม่สามารถเก็บได้ Evaluation (การประเมินผล) ง่าย ยาก Patentable (สิทธิบัตร) ได้ ไม่ได้
Competitiveness Differentiation – better or at least different Cost - cheaper Quick response – more responsive Competitiveness (กลยุทธ์ในการแข่งขัน) กลยุทธ์สร้างความแตกต่าง (Differentiation Strategy) กลยุทธ์ด้านราคา (Low-Cost Strategy) cheaper ราคาถูกกว่า กลยุทธ์ด้านการตอบสนอง (Response Strategy) การตอบสนองด้านความรวดเร็ว การตอบสนองด้านความสม่ำเสมอ การตอบสนองด้านความยืดหยุ่น
Businesses Compete Using Marketing Identifying consumer wants and needs Pricing Advertising and promotion Businesses Compete Using marketing (การแข่งขันทางการตลาด) - ต้องทราบความต้องการของลูกค้าคืออะไร - การตั้งราคา - โฆษณาและโปรโมชั่น
Businesses Compete Using Operation Product and service design Cost Location Quality Quick response Businesses Compete Using Operation (การแข่งขันทางการผลิตสินค้า) การตัดสินใจเชิงการจัดการอย่างเป็นระบบ 10 ประการ - การออกแบบสินค้าและบริการ - การออกแบบต้นทุน (ลดการใช้วัตถุดิบ, แรงงาน, คน) - การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน - คุณภาพ - Quick response การตอบสนอง
Businesses Compete Using Operation (cont.) Flexibility Inventory management Supply chain management Service and service quality Managers and workers - มีความยืดหยุ่น - การจัดการวัสดุคงคลังให้มีปริมาณเท่าที่จำเป็น - การจัดการวัตถุดิบ (Supply chain) เช่น การ Outsourcing ช่วยในเรื่องการตอบสนองความต้องการของลูกค้า - การบริการและคุณภาพการบริการ เช่น บริการหลังการขาย - ทรัพยากรบุคคล เช่น ผู้จัดการ คนทำงาน
Strategy Mission Mission Statement Goals Strategies Tactics The reason for existence for an organization Mission Statement States the purpose of an organization Goals Provide detail and scope of mission Strategies Plans for achieving organizational goals Tactics The methods and actions taken to accomplish strategies การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ - Mission พันธกิจ คือ เหตุผลของการมีอยู่ขององค์กรหรือความจำเป็นที่ต้องคงอยู่ - Mission Statement คือ ข้อความบ่งบอก Mission - Goals เป้าหมาย คือ เป้าหมายบอกรายละเอียดของ Mission (ต้องเป็นอะไรที่วัดได้) - Strategies คือ รายละเอียดแผนเพื่อไปสู่ Goals - Tactics คือ วิธีการที่จะทำให้ Strategies เป็นจริง
Planning and Decision Making Mission Goals Organizational Strategies Functional Goals Finance Strategies Marketing Strategies Operations Strategies Tactics Operating procedures Mission เป้าหมายระดับบน Goals เป้าหมาย Organizational strategies รายละเอียดขององค์กร Function goals ด้านการเงิน การตลาด การผลิต Tactics วิธการ Operating procedures การปฏิบัติ
SWOT S : Strengths W : Weaknesses O : Opportunities T : Threats
Key External Factors Economic conditions Political conditions Legal environment Technology Competition Markets การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก 1. Economic conditions เงื่อนไขด้านเศรษฐกิจ สังเกตุจากอัตราเงินเฟ้อ, อัตราการแลกเปลี่ยนเงินตรา 2. Political conditions เงื่อนไขด้านการเงิน สังเกตุจากสภาวะการเมือง ถ้าการเมืองอยู่ในสภาวการณ์ที่ไม่ดีจะมีโอกาสในการแข่งขันน้อย 3. Legal environment เงื่อนไขทางด้านสิ่งแวดล้อม มีผลในการกำหนดการแข่งขันได้มากน้อยแค่ไหน 4. Technology เงื่อนไขด้านเทคโนโลยี ถ้าเรายังใช้เทคโนโลยีเก่าจะมีโอกาสในการแข่งขันยาก 5. Competition ความรุนแรงของการแข่งขันในตลาด 6. Markets ตลาดของผู้ซื้อทั่วไป (ซื้ออะไร, ชอบแบบไหน)
Key Internal Factors Human Resources Facilities and equipment Financial resources Customers (loyalty, understanding) Products and services Technology Suppliers การวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก 1.Human Resources กำลังคน (ต้องมีการฝึกฝน อบรม ให้ความรู้แก่พนักงาน) 2.Facilities and equipment สิ่งที่มาสนับสนุนการผลิต (น้ำ ลม ดิน สภาพอากาศ สภาพอาคาร) จะต้องสมบูรณ์ 3.Financial resources แหล่งเงินทุนสนับสนุน 4.Customers (loyalty, understanding) ความจงรักภักดีต่อลูกค้าสร้างความสามารถในการแข่งขันได้ 5.Products and services สินค้าและบริการ (ตัวสินค้าที่ดีหรือบริการที่ดี) 6.Technology ถ้าเทคโนโลยีสูงจะมีความสามารถแข่งขันสูง 7.Suppliers บริษัทร่วมค้า ถ้าบริษัทนั้นดีเราจะผลิตสินค้าที่มีคุณภาพมากขึ้น
Electricity / water / etc. Output - Input Processes Machine Raw materials Labor Electricity / water / etc. Capital Inventory Others Products Or Services Input Output
Productivity Partial measures output/(single input) Productivity = Inputs Productivity ความสามารถในการผลิต การผลิตแบบปัจจัยเดียว Single factor แรงงาน เครื่องจักร ด้านการลงทุน พลังงาน Energy Output Capital Machine Labor
Productivity Productiv ity = Outputs Labor+Machine Productiv ity = Multi-factor measures output/(multiple inputs) Productiv ity = Outputs Labor+Machine การผลิตแบบหลายปัจจัย Multi factor ปัจจัยนำออก/แรงงาน+วัตถุดิบ ปัจจัยนำออก/แรงงาน+กำลังลงทุน+พลังงาน Productiv ity = Outputs Labor+Capital+Energy
Productivity Goods or service produced Productivity = Total measure output/(total inputs) Productivity = Goods or service produced All input used to produce them การผลิตแบบภาพรวม total factor สินค้าหรือบริการทั้งหมด/ปัจจัยนำเข้าทั้งหมดที่ใช้ในการผลิต
Productivity Growth Productivity Growth = Current Period Productivity – Previous Period Productivity Previous Period Productivity Productivity Growth คือ อัตราการเพิ่มขึ้นของ Productivity
Example 3 7040 Units Produced Cost of labor of $1,000 Cost of materials: $520 Cost of overhead: $2000 What is the multifactor productivity?
Example 3 Solution MFP = Output Labor + Materials + Overhead MFP = (7040 units) $1000 + $520 + $2000 MFP = 2.0 units per dollar of input
Example : ร้านกาแฟสยาม มีพนักงานในร้าน 3 คน ทำงานวันละ 8 ชั่วโมง โดยได้รับค่าจ้าง วันละ 200 บาท ร้านกาแฟสยามนี้มียอดขายกาแฟโดยเฉลี่ยวันละประมาณ 100 แก้ว นอกจากนี้ยังมีค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ต่อวัน วันละ 350 บาท จงคำนวณหาความสามารถในการผลิตของสยามกาแฟ แบบปัจจัยเดียวด้านแรงงาน แบบหลายปัจจัย
แบบปัจจัยเดียวด้านแรงงาน = 100 แก้วต่อวัน แบบปัจจัยเดียวด้านแรงงาน = 100 แก้วต่อวัน 3 x 8 ชั่วโมงแรงงานต่อวัน = 4.17 แก้วต่อชั่วโมงแรงงาน แบบหลายปัจจัย = 100 แก้วต่อวัน 350 + (3 x 200 บาทต่อวัน) = 0.11 แก้วต่อบาท
Capacity Planning Capacity is the upper limit or ceiling on the load that an operating unit can handle. Capacity also includes Equipment Space Employee skills Capacity planning คือ ความสามารถของหน่วยผลิตที่หน่วยงานนั้น ๆ ที่สามารถทำได้ต่อหน่วยเวลา กำลังการผลิตมักมีผลต่อต้นทุน เมื่อหน่วยผลิตต้องการให้กำลังการผลิตมีความใกล้เคียงกับความต้องการของลูกค้า หากกำลังการผลิตสูงกว่าความต้องการจะทำให้ต้นทุนพนักงานและเครื่องจักรสูงจึงส่งผลให้ต้นทุนต่อหน่วยสินค้าที่ผลิตมีค่าสูงตามไปด้วย แต่หากความต้องการสูงกว่ากำลังการผลิตจะทำให้สูญเสียส่วนแบ่งทางการตลาด - ตัวเครื่องจักร - สายการผลิต - ทักษะของพนักงาน
Capacity Design capacity Effective capacity Actual output maximum output rate or service capacity an operation, process, or facility is designed for Effective capacity Design capacity minus allowances such as personal time, maintenance, and scrap Actual output Rate of output actually achieved--cannot exceed effective capacity. 1. Design capacity คือ กำลังการผลิตตามแผน เป็นความสามารถสูงสุดทางทฤษฎีที่เราออกแบบไว้ต่อหน่วยเวลา 2. Effective capacity คือ กำลังการผลิตที่เราคาดหวัง เป็นกำลังการผลิตที่เราคาดหวังไว้ในการผลิตสินค้าในช่วงระยะเวลาหนึ่ง 3. Actual output คือ กำลังการผลิตที่ทำได้จริง
Efficiency and Utilization Actual output Efficiency = Effective capacity Utilization = Design capacity Efficiency and Utilization (ประสิทธิภาพ และ อรรถประโยชน์) ดัชนีชี้วัดที่นิยมใช้ในการวัดประสิทธิภาพของระบบ Both measures expressed as percentages (%)
Efficiency/Utilization Example Design capacity = 50 trucks/day Effective capacity = 40 trucks/day Actual output = 36 units/day Actual output = 36 units/day Efficiency = = 90% Effective capacity 40 units/ day Utilization = Actual output = 36 units/day = 72% Design capacity 50 units/day
Steps for Capacity Planning Forecast future capacity requirements Evaluate existing capacity Identify alternatives Conduct financial analysis Assess key qualitative issues Select one alternative Implement alternative chosen Monitor results Steps for Capacity planning (ขั้นตอนการวางแผนสำหรับกำลังการผลิต) 1. รู้ว่ากำลังการผลิตในอนาคตน่าจะอยู่ประมาณเท่าไร (พยากรณ์จาก Demand, เศรษฐกิจ) 2. รู้ว่าปัจจุบันผลิตได้เท่าไร 3. หาทางเลือก 4. วิเคราะห์ทางเลือก 5. เลือกสิ่งที่ดีที่สุดสำหรับโรงงาน 6. เลือกทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด 7. ลงมือทำและนำไปใช้ 8. วัดผล
Calculating Processing Requirements การคำนวณความต้องการของชิ้นส่วนที่มีความจำเป็นต่อการผลิต เพื่อนำข้อมูลเหล่านี้มาวางแผนตามความต้องการของลูกค้าเพื่อการผลิตที่เหมาะสมสำหรับช่วงระยะเวลา จำนวนที่ใช้ในการผลิต ตัวอย่างเช่น หน่วยงานแผนกหนึ่งทำงานกะละ 8 ชั่วโมง ทำงาน 250 วันต่อปี เราจะนำข้อมูลมาคำนวณหาการใช้งานของเครื่องจักร ดังนั้น กำลังการผลิตต่อปี 8x250 = 2,000 ชั่วโมงต่อปี ความต้องการเครื่องจักรทั้งหมด = 5,800/2,000 = 2.9 หรือประมาณ 3 เครื่อง Working 8-hour shift, 250 day/year Annual capacity = 2000 hours Machine required to handle these job = 5,800 /2,000 = 2.90 Machine required to handle these job = 3 machines
Company Strategy/Issues Drive-through restaurants Product Life Cycle Introduction Growth Maturity Decline Company Strategy/Issues Best period to increase market share R&D engineering is critical Practical to change price or quality image Strengthen niche Poor time to change image, price, or quality Competitive costs become critical Defend market position Cost control critical Internet Flat-screen monitors Sales DVD CD-ROM Drive-through restaurants Fax machines 3 1/2” Floppy disks Color printers Product Life Cycle แบ่งออกเป็น 4 ช่วง 1.Introduction phase (แนะนำสินค้า) เป็นช่วงที่ดีที่สุดที่จะเพิ่มส่วนแบ่งทางการตลาด การผลิตจะผลิตเป็น Lot เพื่อให้ลูกค้าทดลองใช้ พัฒนาปรับปรุงผลิตภัณฑ์ ช่วงนี้ต้นทุนสูง รูปแบบของผลิตภัณฑ์มีไม่เยอะ เป็นช่วงที่ให้ความสำคัญกับคุณภาพสินค้า 2.Growth phase (เจริญเติบโต) เป็นช่วงที่สินค้ากำลังเจริญเติบโตจะมีการปรับราคาให้เหมาะสมกับตลาด เป็นช่วงที่สำคัญที่ต้องพยากรณ์ให้ได้ว่าจะเติบโตไปในทางใดและต้องทำให้สินค้ามีความน่าเชื่อถือ เป็นช่วงของการเพิ่มกำลังการผลิต 3.Maturity phase (ระยะคงที่) เป็นช่วงที่ไม่มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงอะไรมากมาย บริษัทโดยทั่วไปพยายามจะรักษาช่วงนี้ให้ได้ยาวนานที่สุด ราคาไม่เปลี่ยน คุณภาพคงที่ คู่แข่งและเราจะต้องทำให้ต้นทุนลดลง ต้องทำให้สินค้าเป็นมาตรฐาน คือ ทำให้สินค้ามีรูปแบบที่แน่นอน (ขนาด เวลาการผลิต) สินค้าก็จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง ต้องมีกำลังการผลิตที่คุ้มค่าที่สุด ทำให้ Process มีเสถียรภาพ Production มี Long – runs (ดำเนินต่อเนื่อง) และทำให้สินค้าลดต้นทุนต่ำลง 4.Decline phase (การปฏิเสธ) เป็นช่วงที่กำลังจะพ้นจากตลาด สินค้าต้องมีต้นทุนต่ำที่สุดและไม่มีการเปลี่ยนแปลงสินค้า เป็นช่วงที่กำลังการผลิตมากเหลือใช้และลดกำลังการผลิตลงเอาเครื่องจักรไปทำอย่างอื่น
Bottleneck Operation Machine #1 Machine #2 Bottleneck Operation 10/hr 30/hr 30/hr Bottleneck Operation (คอขวด) ในกระบวนการผลิตสินค้าหรือการให้บริการ ต้องมีปัจจัยนำเข้าผ่านกระบวนการต่าง ๆ ถึงได้ปัจจัยนำออกหรือผลิตภัณฑ์ ในการผ่านกระบวนต่าง ๆ บางผลิตภัณฑ์อาจต้องผ่านกระบวนการผลิตที่มากกว่าหนึ่งกระบวนการและในบางกระบวนการอาจต้องมีการรอการผลิตจากกระบวนการก่อนหน้าดังนั้นกระบวนการที่มีการผลิตสูงไม่ทันต่อกระบวนการผลิตในกระบวนการอื่น ๆ เรามักเรียกกระบวนการนี้ว่า คอขวด อย่างเช่น จากภาพมีเครื่องจักร 4 เครื่อง มีกำลังการผลิตเท่ากัน 10 ชิ้น/ชั่วโมง ส่งชิ้นงานผ่านกระบวนการเดียวกันแต่กระบวนการนี้มีกำลังการผลิตแค่ 30 ชิ้น/ชั่วโมง เราจึงเรียกกระบวนการนี้ว่า Bottleneck Bottleneck operation: An operation in a sequence of operations whose capacity is lower than that of the other operations
Bottleneck Operation Bottleneck Operation 1 20/hr. Operation 2 10/hr. Maximum output rate limited by bottleneck
Cost-volume symbols FC = Fixed cost VC = Total variable cost V = Variable cost per unit TC = Total cost TR = Total revenue R = Revenue per unit Q = Quantity or volume of output QBEP = Break-even quantity P = Profit Total cost (TC) คือ ต้นทุนโดยรวม ต้นทุนคงที่ (FC) ต้นทุนแปรผัน (VC) Total variable cost (VC) คือ ต้นทุนที่แปรผันตามจำนวนการผลิต ได้แก่ ค่าจ้างแรงงาน ค่าวัตถุดิบ เป็นต้น Fixed cost (FC) คือ ต้นทุนคงที่ เป็นต้นทุนที่ไม่แปรผันตามจำนวนการผลิต เช่น เครื่องจักร ค่าเช่าสถานที่ ภาษี เป็นต้น Profit (P) คือ กำไร Break Even Point (BEP) คือ ปริมารการผลิตที่ทำให้ ต้นทุนรวม (TC) = รายได้ (P)
Cost-Volume Relationships Amount ($) Q (volume in units) Total cost = VC + FC Total variable cost (VC) Fixed cost (FC) TC = VC + FC VC = Q x v ต้นทุนคงที่ (FC) ต้นทุนที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามปริมาณการผลิต เครื่องจักร ค่าเช่าสถานที่ ภาษี ต้นทุนแปรผัน (VC) ต้นทุนที่เปลี่ยนแปลงตามสัดส่วนปริมาณการผลิต ได้แก่ ค่าจ้างแรงงาน ค่าวัตถุดิบ Q =Quantity or volume of output ปริมาณการผลิต v =Variable cost per unit ต้นทุนแปรผันราคาต่อหน่วย
Cost-Volume Relationships Amount ($) Q (volume in units) Total revenue Total revenue รายได้ทั้งหมด=ราคาขาย+ปริมาณที่ผลิตจำหน่าย
Cost-Volume Relationships Amount ($) Q (volume in units) BEP units Profit Total revenue Total cost Loss BEP = Break Even Point The volume of output at which Total cost and total revenue are equal v =Variable cost per unit ต้นทุนแปรผันราคาต่อหน่วย r ราคาขายต่อหน่วย BEP = FC (r – v)
Example : One manager needs one new line which, Choice 1; leasing 60,000 บาท/เดือน Choice 2; buying 1,000,000 บาท/เครื่อง VC = 20 บาท/ชิ้น Selling price = 70 บาท/ชิ้น @ หา Break even Point ของทั้ง 2 ทางเลือก @ จำนวนชิ้นที่ผลิตต่อเดือน ได้กำไร 40,000 บาท/เดือน สำหรับทางเลือกที่ 1 ได้กำไร 500,000 บาทในปีแรก สำหรับทางเลือกที่ 2 @ สำหรับทางเลือกที่ 1 หากขายสินค้าได้เดือนละ 2,000 ชิ้น แต่ต้องการกำไร 50,000 บาท ต้องขายสินค้าชิ้นละเท่าไร @ คาดว่าจะขายสินค้าได้เดือนละ 2,500 ชิ้น ไปอีก 2 ปี ควรตัดสินใจอย่างไร
Example : Make Buy Annual FC (Baht) 150,000 none VC (Baht) 60 80 One manager wants to decide to buy machine for making part of purchase from suppliers Make Buy Annual FC (Baht) 150,000 none VC (Baht) 60 80 Annual volume (units) 12,000 @ ผู้จัดการควรตัดสินใจอย่างไร @ จำนวนการผลิตจำนวนเท่าไรที่เป็นจุดตัดสินใจว่าควรจะซื้อหรือผลิตเอง
Decision Tree Decision tree A schematic representation of the available alternatives and their possible consequences Useful for analyzing sequential decisions 1 2 $40 $50 $55 ($10) $70 Build Small Low Demand (.40) High Demand (.60) Build Large Do Nothing Cut Prices Overtime Expand Decision Trees (ต้นไม้การตัดสินใจ) เป็นแผนภาพแสดงทางเลือกที่มีอยู่หรือเป็นไปได้และทางเลือกในการตัดสินใจที่ควบคู่กับความเป็นไปได้ที่จะตามมา ใช้การวิเคราะห์สถานการณ์ที่มีความเสี่ยงได้รวมทั้งใช้วิเคราะห์การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ การวิเคราะห์การจัดตั้ง และใช้วิเคราะห์หลักการต่าง ๆ ได้อีกด้วย
Example : Number of Machine Annual FC Range of output 1 9,600 0-300 2 15,000 301-600 3 20,000 601-900 VC=B10/unit Selling price = B50/unit @ หา Breakeven Point