พยาธิใบไม้ปอด (Lung Fluke).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบาดวิทยาเพื่อการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
Advertisements

“แนวทางในการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ”
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
การตรวจวินิจฉัยโรคสัตว์น้ำ
วัณโรค (Tuberculosis/ TB)
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
โพรโทซัว( Protozoa ).
โรคจากอาหารที่มีสารพิษจากรา
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
การเฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรคติดเชื้ออะมีบา บิดมีตัว พาหะ - แมลงวัน
Trypanosoma.
พยาธิตัวกลมในเนื้อเยื่อ
พยาธิใบไม้ตับ (Liver Flukes).
Trichomonas vaginalis
หนอนพยาธิ (Helminth).
พยาธิใบไม้ปอด (Lung Fluke).
พยาธิตัวกลมในระบบหมุนเวียนเลือด น้ำเหลืองและเนื้อเยื่อ
พยาธิใบไม้ลำไส้ (Intestinal Flukes).
Haemoflagellate.
Family Echinostomatidae
Giardia duodenalis (lamblia)
Other Protozoa.
หนอนพยาธิ (Helminth).
โรคพยาธิในเลือด โรคพยาธิในเลือดส่วนใหญ่จะหมายความถึงเชื้อโปรโตซัวที่อยู่ในเลือด ไม่ได้รวมถึงหนอนพยาธิที่อยู่ในเส้นเลือด เช่นพยาธิใบไม้เลือด พยาธิในเลือดมักทำให้เกิดโรคที่มีความร้ายแรงกว่าพยาธิในทางเดินอาหารมาก.
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
โรคไข้สมองอับเสบเจอี Japanese encephalitis เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย น.ส.เนตรนภา ชั่งประดิษฐ รหัส กลุ่มพื้นฐานที่ 12.
ผลการประชุมกลุ่ม โรคหนอนพยาธิ ๒๕๕๗.
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
Tuberculosis วัณโรค.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
ภาวะไตวาย.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
ว่านหางจระเข้ ฟ้าทะลายโจร เสลดพังพอน
ภูมิอากาศแบบกึ่งอาร์กติก
ไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ใหม่ 2009
Tonsillits Pharynngitis
Nipah virus.
ผลไม้ รักษาโรคได้.
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
แนวทางและวิธีการส่งตรวจ การเรียกเก็บ
ประเภทของมดน่ารู้.
โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน คุณครู อรอุมา พงค์ธัญญดิลก
ปริศนาคำทายวิทยาศาสตร์
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ยอดกาหยู ชื่อถิ่น กาหยู ชื่อสามัญ Cashew
 “ เชื้อโรค ” หมายถึง จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดการติด เชื้อหรือโรคติดเชื้อได้ เช่น ไวรัสแบคทีเรีย รา โปรโตซัว ริคเก็ตเชีย และหนอนพยาธิ  “ เชื้อโรค.
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
Trematodes of Pig Horse & Poultry
Trematodes of Dog & Cat.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พยาธิใบไม้ปอด (Lung Fluke)

พยาธิใบไม้ปอด (Lung Fluke) - เป็นพวกที่อาศัยอยู่ในปอดของโฮสต์ - เป็นพวกที่อาศัยอยู่ในปอดของโฮสต์ - ทำให้เกิดโรค Paragonimiasis - ได้แก่ Paragonimus spp.

พบ 6 species ใน คนและในสัตว์ คือ 1. Paragonimus westermani (Kerbert , 1878) 2. Paragonimus heterotremus (Chen & Hsia , 1964) 3. Paragonimus siamensis (Miyazaki & Wykoff , 1965) 4. Paragonimus bankokensis (Miyazaki & Vajarasthira, 1966) 5. Paragonimus harinasutai (Miyazaki & Vajarasthira, 1968) 6. Paragonimus macrorchis (Chen , 1962)

พบที่เป็นสาเหตุของโรคในคน ได้แก่ Paragonimus westermani (Kerbert , 1878) Paragonimus heterotremus (Chen & Hsia , 1964)

การแพร่กระจาย (Distribution) - พบได้ทั่วโลก - พบได้ทั่วโลก - พบมากแถบตะวันออกไกล ญี่ปุ่น จีน เกาหลี ไทย ฟิลิปปินส์ อินเดีย แอฟริกา อเมริกาใต้ - ในประเทศไทย พบครั้งแรก พ.ศ. 2470 โดย ศาสตราจารย์ น.พ. เฉลิม พรหมมาส พ.ศ. 2498 พบแหล่งระบาด ในภาคกลาง แถวจังหวัดสระบุรี นครนายก ภาคเหนือ จังหวัดเพชรบูรณ์ พิษณุโลก

- เป็นพยาธิใบไม้ที่ตัวหนา รูปร่าง (Morphology) - เป็นพยาธิใบไม้ที่ตัวหนา - ขนาด Paragonimus westermani ยาว 8 –20 mm กว้าง 5 – 9 mm Paragonimus heterotremus ยาว 10 mm กว้าง 5 mm

ด้าน Posterior เรียวกว่า Anterior สีน้ำตาลแดง ผิว เป็น Scale – like – spine - Testes Paragonimus westermani เป็น lobe เรียงตัวแบบ Opposite Paragonimus heterotremus เป็น branch

ขนาด sucker P. westermani Oral & Ventral sucker ขนาดใกล้เคียงกัน P. heterotremus Oral sucker ใหญ่กว่า ventral 2 เท่า ไข่ สีน้ำตาลปนเหลือง Ovoid shape เปลือกหนา ขนาด 80 –118 X 48 – 60 um มี Operculum เป็น Unembryonated egg

P. Westermani (Sun,1988) Pa

วงชีวิต (Life cycle) Adult อยู่ในปอด ของ Definitive host Form cyst อยู่เป็นคู่ๆ - ไข่พยาธิออกมากับเสมหะ หรือ อุจจาระ ลงน้ำ แล้วฟักเป็นตัว miracidium ไชเข้าหอย ( 1st I.H. ) - cercaria เข้าไป form cyst ใน กุ้งน้ำตก และ ปูน้ำจืด ( 2nd I.H. )

- ภายในโฮสต์ metacercaria จะ excyst ที่ duodenum แล้วไชเข้า peritoneal cavity Diaphragm ปอด (encapsulate ภายในปอด )

(Radomyos et al., 1997)

ตัวอ่อนระยะ cercaria (Radomyos et al., 1997)

ปูขน (Radomyos et al., 1997)

ระยะ metacercaria ของ P. westermani (Radomyos et al., 1997)

ระยะ metacercaria ของ P. heterotremus (Radomyos et al., 1997)

พยาธิสภาพ (Pathology) - เกิด โรค : Paragonimiasis หรือ : Pulmonary distomiasis : Endemic hemoptysis ปอดอักเสบ เกิด Leukocyte infiltration บริเวณที่มีพยาธิเกิด Extrapulmonary paragonimiasis

ปอดของสุนัข พบ Paragonimus (Sun,1988)

อาการ (Sign and Symtom) - เกิดอาการ 2 – 20 วัน หลังจากกิน cyst เข้าไป - มีอาการไอแห้งๆ เจ็บหน้าอก - เสมหะ มีเลือดปน (สีสนิมเหล็ก) - รายที่ขึ้นสมองจะมีอาการชัก ปวดศีรษะ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ

การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis) - ตรวจไข่พยาธิจาหก อุจจาระ (stool) และ เสมหะ (Sputum) การรักษา (Treatment) - ใช้ยา Praziquantel

การควบคุมและป้องกัน (Control and Prevention) 1. ให้ความรู้กับประชาชน ไม่รับประทาน กุ้งและปู ดิบๆ 2. จัดการสุขาภิบาลให้ถูกต้อง 3. ทำลายโฮสต์กึ่งกลาง 4. ให้ยารักษา

เอกสารอ้างอิง นิมิตร มรกต 2539 ปรสิตวิทยาทางการแพทย์ โปรโตซัวและ นิมิตร มรกต 2539 ปรสิตวิทยาทางการแพทย์ โปรโตซัวและ หนอนพยาธิ คณะแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หน้า 276-285 วิฑูรย์ ไวยนันท์ และพีรพรรณ ตันอารีย์ 2535 ปริสิตวิทยาทาง การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพฯ หน้า 154-159 Ash,L.R. and Orihel, T.C. 1984. Atlas of Human Parasitology. 2nd edition American Society of Clinical Parthologisis Press, Chicago. 212 pages

Beaver, P.C.; Jung, R.C. and Cupp, E.W. 1984. Clinical Parasitology. Lea & Febiger, Philadelphia. 406-412. Stewart C. Schell. 1970. How to know the trematodes. WM.C. Brown Company Publishers. U.S.A. 355 pages. Vafrasthira,S. 1985. Paragonimiasis.In: The 25th anniversary of the Tropical Medicine, Mahidol University, 98 – 104.