การนับถือศาสนาในราชอาณาจักรกัมพูชา

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ของเด็กชายธีรภัทร์ ประดับมุข และ เด็กชายพีระพงศ์ เภาด้วง
Advertisements

ประชาคมอาเซียน โดย ด.ญ.ทิฆัมพร เพชรกลับ ด.ญ. วัชรีย์ เหล็งรัมย์
โดย นายสุนทร พุกสุข สพป ปทุมธานี เขต 1
คลิกที่รูป... สู่ ฮานอย เมืองหลวงคือ กรุงฮานอย มีพื้นที่ 331,689 ตารางกิโลเมตร จากการสำรวจถึงเมื่อปี พ. ศ.2553 มีประชากรประมาณ 88 ล้านคน ประมาณ 25%
พระพุทธศาสนาแห่งทวารวดี (พศต )
พระพุทธศาสนาในฟูหนำ ( พศต )
รายงาน เรื่อง การเเต่งกายสมัยอยุธยา 6.ธีรพล เศรษฐี เลขที่4
อารยธรรมลุ่มน้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
วัฒนธรรมในอาเซียน (ประเทศกัมพูชา)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
พระพุทธศาสนาในประเทศไทย
วิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางรัชฎา ช่างเหลา ตำแหน่งพนักงานราชการ
ศิลปะเนื่องในศาสนาพราหมณ์ ที่พบระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๔
ตำแหน่งที่ตั้งของบ้านเมืองฟูนัน
ประวัติพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาเกิดที่ประเทศอินเดีย ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี เกิดหลังศาสนาพราหมณ์ ๖๐๐ ปี ก่อนศาสนาคริสต์ ๕๔๓ ปี ก่อนศาสนาอิสลาม ๑,๑๒๔.
บุคคลสำคัญในประวัติศาสตร์ชาติไทย
History มหาจุฬาฯ.
จัดทำโดย ด.ญ.อมราลักษณ์ ลาภเกิน เลขที่ 23 กลุ่ม 16
ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ช.ชณะชล อิ่มเพ็ง กลุ่ม 15 เลขที่ 39.
10 ประเทศอาเชียน จัดทำโดย ด.ช.ปัณณทัต ด้วงทอง กลุ่ม 15 เลขที่ 41
อาเซียน สนุกกับอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.เบญญาภา เพ็ญกรูด ม.1/16 เลขที่34
จัดทำโดย ด.ญ.ธนาภรณ์ ตุ้มวิจิตร กลุ่มที่ 15 เลขที่ 18
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. ศิโรรัตน์ ราชตุ กลุ่ม16เลขที่20
ด.ชธเนศพล สินธุพรหม กลุ่ม15 เลขที่7
จัดทำโดย ด.ช. พศวัตร์ พุ่มลำเจียก กลุ่ม 15เลขที่10
ของเด็กหญิง ชนิตา นรสิงห์
ด.ญ. มัทชิมา บุญช่วงดี เลขที่ 47 ม.1/20 กล่ม 16
ศาสนา.
สมัยเมืองพระนคร (ราวกลางพุทธ ศตวรรษที่ )
สมัยโคะฟุน.
สมัยนาระ.

พม่า มีเมืองหลวงคือ เนปิดอว ติดต่อกับประเทศไทยทางทิศตะวันออก โดยทั้งประเทศมีพื้นที่ประมาณ 678,500 ตารางกิโลเมตร ประชากร 48 ล้านคน กว่า 90% นับถือศาสนาพุทธนิกายเถรวาท.
จังหวัดราชบุรี จัดทำโดย
หลักฐานประวัติศาสตร์สุราษฎร์ธานี
Law and Modern World ภาคการศึกษา 2/2556.
อำเภอพนัสนิคม โดย นางสาวสิราวรรณ พรงาม.
ลาว วิรันดา สุนทรภักดี คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขานิเทศศิลป์
10ประเทศอาเซียน จัดทำโดย ด.ญ. นฤภร บุญส่งศรี ม.1/14 เลขที่ 20 กลุ่ม 15
จัดทำโดย 1.ด.ช. ชาญชล ประดิษฐภูมิกลุ่ม 16 เลขที่28
คริสต์มาส คือการฉลองการบังเกิดของพระเยซูเจเราเฉลิมฉลองกันในวันที่ 25 ธันวาคม คำว่า คริสต์มาส เป็นคำทับศัพท์ภาษาอังกฤษ Christmas ซึ่งมาจากภาษาอังกฤษโบราณว่าChristes.
จดหมายเหตุของภิกษุจีนชื่อ เหี้ยนจั๋ง หรือ พระถังซัมจั๋ง (Hieun Tsing) ซึ่งเดินทางจากเมืองจีนไปประเทศอินเดียทางบก ราว พ.ศ – 1188  และพระภิกษุจีนชื่อ.
จัดทำโดย: น.ส.กนกวรรณ มาลา
อาเซียน จัดทำโดย ด.ญ.สุพรรณภา ตันยะ ม.1/12 เลขที่ 32.
โรงเรียน เทศบาล 2 (บ้านหาดใหญ่) วัฒนธรรมไทยในปัจจุบัน
คริสต์มาส คือการฉลองการบังเกิด ของพระเยซูเจเราเฉลิม ฉลองกันในวันที่ 25 ธันวาคม คำว่า คริสต์มาส เป็นคำทับ ศัพท์ภาษาอังกฤษ Christmas.
จัดทำโดย ด.ช.จิรภัทร นิ่มเจริญ กลุ่ม15เลขที่2
พระพุทธศาสนาสมัยสุโขทัย
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
สมาคมอาเซียน AEC ประเทศ ลาว (Laos)
จัดทำโดย ด.ญ. ประภาศิริ เซ็นแก้ว กลุ่ม 13 เลขที่ 24
จุดเริ่มต้น พัฒนาการจนถึงปัจจุบัน
ประเภทของศาสนา ศาสนาเบื้องต้น อาจารย์ชัชวาลย์ ชิงชัย
จัดทำโดย ด.ญ.ธันยชนก โพธิ์บัว ด.ญ.ฉัตรชนก ฤทธาภัย
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ
เรื่อง ธงชาติในอาเซียน
10 ประเทศอาเซียน จัดทำโดย เด็กหญิง ญาธิดา หลาวเพ็ชร กลุ่ม 14 เลขที่ 14
ด.ช. ภาคภูมิ ณ วรรณา ม.2/6 เลขที่ 45.
1. ด.ญ. นรมน น้อยชัยพฤกษ์ เลขที่ ด.ญ. สุกัญญา พันธุพูล เลขที่ 37
ครูจงกล กลาง ชล 1. วิเคราะห์แนวคิด เกี่ยวกับ เหตุการณ์ที่ ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงในแต่ ละช่วงสมัย ที่มีผลต่อ พัฒนาการทาง ประวัติศาสตร์ ไทยได้ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง.
จัดทำโดย เด็กหญิง พลอย กลิ่นหอม กลุ่ม 14 เลขที่ 27
จัดทำโดย ด.ญ. อรจิรา บุญภักดี ม.1/14 เลขที่ 31 กลุ่ม 15
ครูจงกล กลางชล 1. 2 สรุปแนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการ ด้านการเมือง – การปกครองโดยใช้ วิธีการทางประวัติศาสตร์ได้
จัดทำโดย เด็กชาย ชนายุทธ มหายศ ชั้น ม.1/4 เลขที่ 6 เสนอ คุณครูอรอุมา พงค์ธัญญะ ดิลก โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
สังคมศึกษา เรื่อง ศาสนา
ประเทศสิงคโปร์.
รายงานประเทศอาเซียน จัดทำโดย ชื่อ ด.ญ.ชนิกา อ่ำทับ กลุ่ม 16 เลขที่ 10
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การนับถือศาสนาในราชอาณาจักรกัมพูชา ร่องรอยหลักฐานทางศาสนาที่ค้นพบในกัมพูชาบ่งชี้ว่า มีศาสนาใหญ่จากอินเดีย 2 ศาสนา คือ ศาสนาพุทธลัทธิหินยาน และลัทธิมหายาน ศาสนาพราหมณ์ลัทธิไศวนิกาย และลัทธิไวษณพนิกาย แพร่หลายเข้ามาและเจริญรุ่งเรืองขึ้นบนแผ่นดินกัมพูชา ตั้งแต่สมัยประวัติศาสตร์ระยะแรกๆ แต่ศาสนาพราหมณ์ได้เจริญรุ่งเรืองขึ้นเป็นศาสนาสำคัญ และเจริญอย่างสูงสุดอยู่ในดินแดนแห่งนี้ เนื่องจากเป็นศาสนาของชนชั้นปกครองและเป็นศาสนาหลักของบ้านเมืองมาเป็นเวลายาวนานที่สุด ร่องรอยหลักฐานด้านศาสนสถานที่ยังหลงเหลือ แสดงให้เห็นว่าศาสนาพราหมณ์มีบทบาทอย่างเด่นชัดต่อการสร้างบ้านเมือง การปกครองบ้านเมืองมาตั้งแต่สมัยประวัติศาสตร์ระยะแรกๆ จนถึงราวต้นพุทธศตวรรษที่ 18

หลังจากนั้นมาศาสนาพุทธลัทธิมหายานจึงได้เจริญรุ่งเรืองขึ้นอย่างมาก กลายเป็นศาสนาสำคัญของบ้านเมืองแทนที่ศาสนาพราหมณ์อยู่ระยะหนึ่ง ราวปลายพุทธศตวรรษที่ 18 ศาสนาพราหมณ์จึงได้รับการฟื้นฟูให้เป็นศาสนาของบ้านเมืองอีกครั้ง จนกระทั่งเมืองพระนครล่มสลายลงในราวต้นพุทธศตวรรษที่ 20 ต่อมาเมื่อมีการ ฟื้นฟูบ้านเมืองใหม่ราชธานีย้ายลงมาอยู่ทางใต้ ศาสนาพุทธ ลัทธิเถรวาทได้เจริญรุ่งเรืองขึ้น และกลายเป็นศาสนาสำคัญ ของบ้านเมือง และยังเป็นศาสนาประจำชาติมาจนทุกวันนี้