พยาธิใบไม้ลำไส้ (Intestinal Flukes).

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แบบนำเสนอผลงานโครงการ
Advertisements

Phylum Platyhelminthes
Antinematodal Drugs (ยากำจัดพยาธิตัวกลม) 1. Piperazine
พืชสวนครัว จัดทำโดย เด็กหญิงเจนจิรา เหล่าบัวบาน เลขที่ 23
ด.ญ. วราภรณ์ พันธ์คำ เลขที่ 34 ด.ญ. ภาวินีย์ เค้ามูล เลขที่ 42
มวนแดงนุ่น Kapok bug Odontopus nigricornis Stal
โรคจากอาหารที่มีสารพิษจากรา
ACCURACY IN DIAGNOSIS ACUTE APPENDICITIS IN BUDDHACHINNARAJ HOSPITAL
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101
แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ
จัดทำโดย ด.ช.สมชาย คงดั่น 2/5.
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรคติดเชื้ออะมีบา บิดมีตัว พาหะ - แมลงวัน
Trypanosoma.
พยาธิใบไม้ตับ (Liver Flukes).
Trichomonas vaginalis
หนอนพยาธิ (Helminth).
พยาธิใบไม้ปอด (Lung Fluke).
Haemoflagellate.
Family Echinostomatidae
Giardia duodenalis (lamblia)
Other Protozoa.
พยาธิใบไม้ปอด (Lung Fluke).
โรคขาดอาหารและ/ พยาธิ
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
โรคฝีดาษไก่ (Pox disease)
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
เชื้อ Aeromonas hydrophila ที่ก่อโรคในปลาน้ำจืด
การเฝ้าระวังและสถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังพิเศษจังหวัดสุรินทร์
โรคคอตีบ (Diphtheria)
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
Tuberculosis วัณโรค.
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของ Hormone
ภาวะไตวาย.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
Diabetic Foot แผลเบาหวาน กับ การดูแล ป้องกัน
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
ศูนย์บริหารศัตรูพืช จังหวัดขอนแก่น
ควรเริ่มตรวจแป๊บสเมียร์เมื่อใด ใครบ้างที่ควรตรวจแป๊บสเมียร์
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โรคเบาหวาน ภ.
ปาล์มขวด จัดทำโดย นาย ภานุวัฒน์ แซ่เจียง เลขที่ 8
Tonsillits Pharynngitis
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
กล้วย.
Nipah virus.
ผลไม้ รักษาโรคได้.
ด้วงกว่าง.
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
ประเภทของมดน่ารู้.
สำนักงานเกษตรอำเภอกะเปอร์
โรคกระเพาะอาหาร.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
ชั้นม.1/4 เลขที่ 16 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงศ์ธัญญะดิลก โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัด ลำพูน.
Trematodes of Pig Horse & Poultry
ใบสำเนางานนำเสนอ:

พยาธิใบไม้ลำไส้ (Intestinal Flukes)

- พยาธิใบไม้ลำไส้ เป็นพวกที่อาศัยอยู่ในระบบ ทางเดินอาหาร ของโฮสต์ (Intestinal Flukes) - พยาธิใบไม้ลำไส้ เป็นพวกที่อาศัยอยู่ในระบบ ทางเดินอาหาร ของโฮสต์ - สามารถแบ่งออกได้ตามขนาดของลำตัวเป็น 3 กลุ่ม คือ

ขนาดใหญ่ (Large) Fasciolopsis buski (20-75 X 8-20mm)

ขนาดกลาง (Medium) Echinostoma ilocanum (2.5-6.5 X 0.7-1.4mm) Echinostoma malayanum (9 X 2 mm) Echinostoma revolutum (8-11 X 1-2.5mm) Hypoderaeum conoideum (8 X 1.5 mm) Gastrodiscoides hominis (8-14 X 5-8mm)

ขนาดเล็ก (Small) Haplorchis yokogawai (0.52-0.83 X 0.22-0.4mm) Haplorchis taichui (0.97-1.12 X 0.35-0.52mm) Haplorchis pumilio (0.53-0.73 X 0.22-0.35mm) Phaneropsolus bonnei (0.45-0.85 X 0.3-0.5mm) Prosthodendrium Molenkampi (0.55-0.92 X 0.41-0.77mm)

- เป็นพยาธิใบไม้ลำไส้ ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด Fasciolopsis buski - เป็นพยาธิใบไม้ลำไส้ ที่มีขนาดใหญ่ที่สุด - ทำให้เกิดโรค Fasciolopsiasis - พบครั้งแรก โดย Busk (1843) จากกลาสีเรือ ที่ตายในกรุงลอนดอน

การแพร่กระจาย (Distribution) - พบในประเทศ จีน ลาว เขมร บังคลาเทศ เวียตนาม มาเลเซีย เกาหลี และ ไทย - ในประเทศไทย มีรายงานครั้งแรก ปี พ.ศ. 2494 โดย ศาสตราจารย์ นายแพทย์ สวัสดิ์ แดงสว่าง พบคนไข้ จากตำบล บางขุน ศรี เสียชีวิตที่ ร.พ. ศิริราช - ปัจจุบัน พบบริเวณ ภาคกลางของประเทศ ได้แก่ อยุธยา อ่างทอง สุพรรณบุรี และ นครปฐม

รูปร่าง (Morphology) - ตัวยาวรี ขนาดประมาณ : ยาว 20-75 mm - ผิวหนังปกคลุมด้วยหนามเล็กๆ เป็น Transverse rows of small spines

Ventral sucker 2-3 mm ลำไส้เว้าเป็น 2 ตอน Sucker 2 อัน Oral sucker 0.5 mm Ventral sucker 2-3 mm ลำไส้เว้าเป็น 2 ตอน

- ระบบสืบพันธุ์ Testes 2 อัน เรียงตัวแบบ Tandem แตกเป็นแขนง Ovary แตกแขนง Vitelline gland มีลักษณะพิเศษ แตกแขนง 2 ข้างลำตัว ตั้งแต่ ventral sucker ถึง Posterior end

ไข่ มีขนาดใหญ่ 130-140 X 80-85 um รูปทรงรี (Oval shape) เปลือกมีฝาปิด (Operculate egg) สีเหลืองปนน้ำตาล โปร่งใส

วงชีวิต (Life cycle) คนเป็น Definitive host หมูเป็น Reservoir host Adult worm อยู่ในลำไส้ Duodenum และ Jejunum (ถ้ามีมากอาจพบได้ที่ Stomach และ Colon ได้)

miracidium ไชเข้าหอยที่เป็น intermediate host ได้แก่ Planorbid snail ไข่ปนกับอุจจาระ ลงไปในน้ำ ฟักเป็น miracidium (ใช้เวลา 3-7 สัปดาห์ ที่อุณหภูมิประมาณ 27-32 o C miracidium ไชเข้าหอยที่เป็น intermediate host ได้แก่ Planorbid snail ( Segmentina hemisphaerula , Segmentina trochoideus , Hippeutis sp. )

พยาธิเจริญในหอย เปลี่ยนแปลงรูปร่างและเพิ่มจำนวน Miracidium Sporocyst Redia Cercaria

Cercaria ไชออกจากหอย ว่ายน้ำไป encyst ตามพืชน้ำ เรียก cyst นี้ว่า Metacercaria พืชน้ำ ที่ถือได้ว่าเป็น 2nd Intermediate host ได้แก่ กระจับ (Water caltrop) แห้วจีน (Water chest nut) สายบัว (Lotus) ผักบุ้ง (Morning glory) ผักตบ (Water – hyacinth) เมื่อคนกินพืชพวกนี้ ดิบๆ ก็จะได้ Metacercaria

พยาธิจะออกจาก cyst โดยถูกย่อย ผนัง Cyst ที่ duodenum กลายเป็น Young fluke และโตไปเป็น Adult fluke กินเวลาในวงชีวิต ประมาณ 5 – 6 เดือน

(Sun,1988)

(Radomyos et al., 1997)

First Intermediate host หอยชนิด Hippeutis cantori (Sun,1988)

Segmentina trochoideus Segmentina hemisphaerula (Radomyos et al., 1997)

(Radomyos et al., 1997)

(Radomyos et al., 1997)

พยาธิสภาพ (Pathology) ถ้ามีพยาธิมากภายใน host จะทำให้เกิดพยาธิสภาพได้ดังนี้ 1. Trauma เกิดแผลลึกในลำไส้ 2. Obstruction ภาวะอุดตัน 3. Toxic damage

อาการ (Sign and Symtom) ระยะแรก - เริ่มจาก Toxic diarrhea มีอาการ หิวปวด (Hunger Pain) - Mucosa อักเสบ ทำให้มีอาการ คล้าย Peptic ulcer (อาการแผลเปื่อยที่ - เยื่อบุของหลอดอาหารและ กระเพาะ เนื่องจากน้ำย่อยมากัด) - เกิดอาการ Malnutrition ในที่สุด

ระยะหลัง - อุจจาระจะมีสีเขียวๆ หยาบ กลิ่นเหม็นมาก - มีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน - มีน้ำในช่องท้อง (Ascites)

ระยะสุดท้าย - มีอาการบวม (หน้าบวม ท้องบวม ขาบวม) - ผิวหนังแห้ง อ่อนเพลีย - มักตายด้วยอาการ Intoxication (อาการพิษ)

การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis) ประวัติเกี่ยวกับพื้นที่แพร่ระบาด (Endemic area) ตรวจอุจจาระหาไข่พยาธิ การรักษา (Treatment) 1. รักษาตามอาการ 2. ให้ยา Praziquantel

การควบคุมและป้องกัน (Control and Prevention) 1. พืชน้ำควรแกะเปลือกออก หรือต้ม เพื่อฆ่า Metacercaria เสียก่อน 2. จัดการสุขาภิบาลให้ดี 3. ทำลายโฮสต์กึ่งกลาง

Gastrodiscoides hominis - เป็นพยาธิใบไม้ในลำไส้ ที่มีขนาด ของไข่ใหญ่ที่สุด - พบครั้งแรกใน caecum ของคนไข้ ชาวอินเดีย - ปกติพบได้บ่อยในประเทศอินเดีย เวียตนาม และ ฟิลิปปินส์

ในประเทศไทย มีรายงาน ดังนี้ ปี พ.ศ. 2503 พบใน หมู พ.ศ. 2507 พบใน ค่าง ที่เขาดิน (นำมาจาก จังหวัดชุมพร) พ.ศ. 2508 พบใน คน ที่จังหวัดพิจิตร ป่วยที่ ร.พ. พุทธชินราช จังหวัด พิษณุโลก เป็นผู้ป่วยหญิง อายุ 17 ปี ตายด้วย โรค Lymphosarcoma of mesenteric lymph node and large intestine (มะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ขั้วลำไส้)

รูปร่าง (Morphology) มีลักษณะแบบ Disc-shaped with anterior conical projection (หมายถึง Posterior มีรูปร่างกลม และ ทาง anterior เรียวเหมือนรูปกรวย) ขนาด 5-8 X 5-14 mm

วงชีวิต (Life cycle) - เป็นข้อมูลที่ได้จากการทดลองในห้องปฏิบัติการ ตัวแก่อาศัยอยู่ใน ลำไส้ใหญ่ของโฮสต์ ไข่มีฝาปิดขนาด 150 –170 X 60 – 70 um ตัวอ่อน ระยะ miracidium จะเข้าไปเจริญในหอยน้ำจืด (ในอินเดีย พบว่าเป็นหอย Helicorbis coenosus cercaria สร้างซีสต์เป็น metacercaria ติดอยู่บนพืชน้ำ เช่นเดียวกับ F. buski

พยาธิสภาพ (Pathology) เกิดการอักเสบบริเวณ caecum และ ascending colon ทำให้เกิดอาการ mucous diarrhea การตรวจวินิจฉัย (Diagnosis) ตรวจหาไข่ในอุจจาระผู้ป่วย ไข่คล้าย F. buski แต่ขนาดใหญ่กว่า และมี operculum แคบ สีเขียวปนเทา

(Control and Prevention) การรักษา (Treatment) - ใช้ยา Praziquantel การควบคุมและป้องกัน (Control and Prevention) 1. ป้องกันการกินอาหารที่ไม่สุก 2. จัดการสุขาภิบาลให้ดี 3. ทำลายโฮสต์กึ่งกลาง

(Radomyos et al., 1997)