หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย อ. วิภารัตน์ ภิบาลวงษ์ ภาควิชาแนวคิดพื้นฐานและหลักการพยาบาล
หลักการ การเคลื่อนย้าย การยก และการพยุงผู้ป่วย หลักการ การเคลื่อนย้าย การยก และการพยุงผู้ป่วย การประเมินผู้ป่วยก่อนการเคลื่อนย้าย ความสามารถในการช่วยเหลือตนเอง ท่าที ที่เป็นข้อห้าม / ส่วนที่จำเป็นต้องให้อยู่นิ่ง ส่วนที่อ่อนแรงหรือพิการ / ความอ่อนเพลียมีมากน้อยแค่ไหน ความต้องการการเคลื่อนย้าย การเปลี่ยนท่าและความสุขสบาย การเตรียมผู้ป่วย
หลักการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย จัดท่าผู้ป่วยให้นอนหงายอยู่ในท่าที่สบาย หันหน้าเข้าหาผู้ป่วยและไปในทิศทางที่จะเคลื่อนย้าย ยืนในท่าที่ถูกต้องและมั่นคง
ชนิดและขั้นตอนการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย การช่วยเลื่อนผู้ป่วยไปทางหัวเตียง การช่วยเลื่อนผู้ป่วยนอนริมเตียง การช่วยผู้ป่วยพลิกตะแคงตัว การช่วยเหลือผู้ป่วยลุกนั่งบนเตียง การช่วยเหลือผู้ป่วยลุกนั่งห้อยเท้าข้างเตียง การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากเตียงไปเก้าอี้หรือรถเข็น การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากเตียงไปยังรถนอน
ชนิดและขั้นตอนการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย การช่วยเลื่อนผู้ป่วยไปทางหัวเตียง ผู้ป่วยสามารถช่วยเลื่อนตนเองได้ ผู้ป่วยช่วยเหลือตนเองไม่ได้ การช่วยเลื่อนผู้ป่วยนอนริมเตียง การช่วยผู้ป่วยพลิกตะแคงตัว
ชนิดและขั้นตอนการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย การช่วยเหลือผู้ป่วยลุกนั่งบนเตียง การช่วยเหลือผู้ป่วยลุกนั่งห้อยเท้าข้างเตียง การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากเตียงไปเก้าอี้หรือรถเข็น
ชนิดและขั้นตอนการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจากเตียงไปยังรถนอน ผู้ป่วยที่ช่วยตนเองได้ ผู้ป่วยที่ช่วยตนเองไม่ได้ การเคลื่อนย้ายโดยใช้แผ่นเลื่อน ( Pat slide )
การช่วยผู้ป่วยเดิน
การเคลื่อนย้ายที่ดี ต้องมีความปลอดภัยทั้งผู้ป่วยและผู้ที่ช่วยเหลือในการเคลื่อนย้าย.......
การดูแลผู้ป่วยใส่เครื่องช่วยดึงกระดูก (Traction) & เฝือก(Cast)
วัตถุประสงค์ ดึงกระดูกให้เข้าที่ ( Reduction ) บรรเทาอาการปวด ( Relieve pain ) บรรเทาอาการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ (Relieve muscle spasm ) ป้องกันและแก้ไขความพิการ (Prevent and correct deformities) จำกัดให้อวัยวะนั้นอยู่นิ่ง ( Immobilization)
ชนิดของTraction 1. Skin traction เป็นการดึงโดยใช้แรงดึงที่ผิวหนัง และเนื้อเยื่อโดยรอบ วัสดุที่ใช้... Adhesive tapes Elastic Bandage Sling น้ำหนัก
2.Skeletal traction น้ำหนัก เป็นการดึงกระดูกที่หักให้เข้าที่เดิมใช้ในกระดูกหักที่เป็นกล้ามเนื้อมัดใหญ่ เช่นกระดูก Shaft of femur วัสดุที่ใช้... Kirschner wire/pin เกือกม้า น้ำหนัก
Skull traction 3. Manual traction เป็นการดึงชั่วคราวโดยการใช้มือในการดึง
การพยาบาลผู้ป่วยที่เข้า Traction การจัดท่า ความสะอาด ออกกำลังการกล้ามเนื้อและข้อ รับประทานอาหารที่มีโปรตีนและวิตามินสูง ให้ดื่มน้ำมาก ๆ สังเกตการไหลเวียนของโลหิตส่วนปลายบริเวณแขนขา ดูแลให้ Traction มีประสิทธิภาพและทำงานอยู่ตลอด ป้องกันการเกิดแผลกดทับบริเวณปุ่มกระดูก สังเกตอาการติดเชื้อ บริเวณที่ใส่ Pin
ชนิดของเฝือก Short leg cast Cylinder cast long leg cast
Spica cast Body cast
การพยาบาลผู้ป่วยที่เข้าเฝือก การดูแลรักษาเฝือก การดูแลเกี่ยวกับผิวหนัง รับประทานอาหารประเภทเนื้อสัตว์ วิตามิน แคลเซียม การออกกำลังกายและช่วยเหลือตนเองให้มากที่สุด การจัดท่านอนให้ถูกต้อง หาหมอนรองตามปุ่มกระดูก ยกอวัยวะนั้นสูง การขับถ่าย การบันทึกเกี่ยวกับอาการผู้ป่วย
การใช้กายอุปกรณ์ ความหมาย... หมายถึง อุปกรณ์ทางการแพทย์ต่างๆที่ใช้กับร่างกาย เพื่อช่วยเหลือ การเคลื่อนไหว เช่น แขนเทียม ขาเทียม อุปกรณ์ประคองหรือดามหลัง อุปกรณ์ดามมือ เป็นต้น ประเภทของกายอุปกรณ์ กายอุปกรณ์เทียม (prosthesis) กายอุปกรณ์เสริม (orthosis)
กายอุปกรณ์เสริม (orthosis) หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ที่ใช้เสริมเป็นโครงสร้างภายนอกร่างกาย เพื่อควบคุมหรือช่วยการเคลื่อนไหวส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย วัตถุประสงค์ จัดส่วนของร่างกายให้อยู่นิ่ง ( Immobilization) ป้องกันการผิดรูป ( Deformity ) ช่วยรักษาแนวแรงของร่างกายให้ตรง ( Aligngament ) ช่วยเพิ่มความมั่นคงของข้อ ( Stability) ช่วยเสริมแรงในกรณีที่กล้ามเนื้ออ่อนแรง ควบคุมการเคลื่อนไหว
ประเภทของการอุปกรณ์เสริม การอุปกรณ์เสริมสำหรับขา ( Lower-limb orthoses ) การอุปกรณ์เสริมสำหรับแขน ( Upper-limb orthoses ) การอุปกรณ์เสริมสำหรับคอและหลัง ( Spinal orthoses )
คนจะงาม งามน้ำใจใช่ใบหน้า คนจะสวย สวยจรรยาใช่ตาหวาน คำคม..... คนจะงาม งามน้ำใจใช่ใบหน้า คนจะสวย สวยจรรยาใช่ตาหวาน คนจะแก่ แก่ความรู้ใช่อยู่นาน คนจะรวย รวยศีลทานใช่บ้านโต ......
ขอขอบพระคุณ อ. รัชชนก สิทธิเวชและนักศึกษาทุกคน