Matrix and Determinant

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
Advertisements

ENGINEERING MATHAMETICS 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
ป.2 บทที่ 1 “จำนวนนับ ไม่เกิน1,000”
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Appendix A2 จัดทำโดย นางสาว อารยา จำปัน
การใช้ Microsoft Word 2007 / 2010 เพื่อการจัดการงานเอกสารเชิงวิชาการ
ข้อตกลงในการเรียน พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับนำไปใช้ในเรื่อง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สาระที่ 4 พีชคณิต.
โจทย์ 1. x + y + 2z + 3w = 13 x - 2y + z + w = 8 3x + y + z - w = 1
Lecture 11: อาร์เรย์แบบหลายมิติ
ทบทวน อาร์เรย์ (Array)
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
อสมการ.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
รับและแสดงผลข้อมูล.
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
Arrays.
Arrays.
เวกเตอร์ (Vectors) 1.1 สเกลาร์และเวกเตอร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
Function and Their Graphs
2.5 ตัวแปรชุดมิติเดียวและตัวแปรชุดสองมิติ
คณิตศาสตร์ แสนสนุก.
อสมการ (Inequalities)
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
อาร์เรย์และข้อความสตริง
แฟกทอเรียล (Factortial)
โครงสร้างข้อมูลแบบคิว
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย. เมตริกซ์ (Matrices) เมตริกซ์ คือ การจัดเรียง จำนวนให้อยู่ในรูป สี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งประกอบด้วย แถว (Row) และ หลัก (Column)
กฏเกณฑ์นับเบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ วิทยาลัยการอาชีพวังไกลกังวล
รายงาน เรื่อง พื้นฐาน Microsoft Excel จัดทำโดย
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ตัวผกผันการคูณของเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
Week 12 Engineering Problem 2
Week 12 Engineering Problem 2
ตัวแปรชุด Arrays.
ทรานสโพสเมตริกซ์ (Transpose of Matrix)
บทที่ 4 ตัวแบบควบคู่ และการวิเคราะห์ความไว (Dual Problem and Sensitivity Analysis) Operations Research โดย อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล.
อาร์เรย์ (Arrays).
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
เมทริกซ์ (Matrix) Pisit Nakjai.
นางสาววิรากร ใจเอื้อย ตอนที่ 6 นางสาววิรากร ใจ เอื้อย.
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
ปัญหา คิดสนุก.
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
บทที่ 7 การสร้างและการใช้งาน ฟังก์ชัน อาจารย์ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Matrix and Determinant บทที่ 2 Matrix and Determinant

จุดประสงค์ในการเรียนเมตริกซ์ 1. บอกความหมาย ตำแหน่ง และขนาดของเมตริกซ์ได้ 2. เมื่อกำหนดเมตริกซ์ให้ บอกได้ว่าเป็นเมตริกซ์ชนิดใด 3. บวก ลบ และคูณเมตริกซ์ได้ 4. หาดีเทอร์มิแนนท์ของเมตริกซ์ที่กำหนดให้ได้ 5. หาอินเวอร์สของเมตริกซ์ที่กำหนดให้ได้ 6. แก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมตริกซ์ได้

เมตริกซ์ คือกลุ่มของตัวคงค่า (Scalar) หรือ ฟังก์ชัน (Function) ความหมายของเมตริกซ์ เมตริกซ์ คือกลุ่มของตัวคงค่า (Scalar) หรือ ฟังก์ชัน (Function) ซึ่งจัดเรียงกันอย่างเป็นระเบียบในรูปของสี่เหลี่ยมมุมฉาก โดยเอาสมาชิกทุกตัวไว้ภายในวงเล็บ “[ ]” และใช้อักษร ตัวพิมพ์ใหญ่แทนชื่อของเมตริกซ์ เช่น

นิยาม ถ้า A เป็นเมตริกซ์ขนาด m x n และมี aij เป็นสมาชิกแล้ว สามารถเขียนเมตริกซ์ A ได้ดังนี้

อาจเขียนเมตริกซ์ A สั้น ๆ ได้ A = [aij]m x n เมื่อ i = 1, 2, 3, … , m j = 1, 2, 3, … , n ขนาดของเมตริกซ์ จะบอกว่าเมตริกซ์มีกี่แถว(row) และกี่หลัก(Column) เขียนแทนด้วย m x n โดยที่ m เป็นจำนวนแถว และ n แทนจำนวนหลัก ตัวอย่างหน้าถัดไป

1. Row matrix คือเมตริกซ์ที่มีแถวเดียว ชนิดของเมตริกซ์ 1. Row matrix คือเมตริกซ์ที่มีแถวเดียว

3. เมตริกซ์สี่เหลี่ยมผืนผ้า (Rectangular matrix)

5. เมตริกซ์ทแยง (Diagonal matrix) คือเมตริกซ์จัตุรัสที่มีสมาชิกทุกตัวเป็น “ 0 ” ยกเว้นแถวทแยงมุมหลัก (main diagonal) (แถวทแยงมุมหลักคือแถวที่ค่า i = j)

6. เมตริกซ์สเกลาร์ (Scalar matrix) คือเมตริกซ์ทแยง ที่มีสมาชิกในแถวทแยงมุมหลักเท่ากัน

7. เมตริกซ์เอกลักษณ์ (Identity matrix) คือเมตริกซ์จตุรัสที่มีสมาชิกทุกตัวเป็น “0” ยกเว้นแถวทแยงมุมหลักเป็น “1” เขียนแทนด้วย In

8. เมตริกซ์ศูนย์ (Zero matrix) คือเมตริกซ์ที่มีสมาชิกทุกตัวเป็น “0”

10. ทรานสโพสของเมตริกซ์ (Transpose of matrix) คือ เมตริกซ์ที่ กล่าวคือ ถ้า A = [ aij]m x n แล้ว At = [ aji]n x m

11. เมตริกซ์สมมาตร (Symmetric matrix) คือ A = At

12. เมตริกซ์ขั้นบันได (Echelon matrix) มีลักษณะดังนี้ - สมาชิกตัวแรกในแต่ละแถวถ้าไม่เป็น “0” ต้องเป็น “1” - เลข “1” ที่อยู่ในแถวถัดไปต้องอยู่หลักถัดไป - ถ้ามีแถวที่มีสมาชิกทุกตัวเป็น “0” แถวนั้นต้องอยู่แถวสุดท้าย

การบวกและการลบเมตริกซ์ เมตริกซ์ที่จะบวกหรือลบกันได้ต้องมีขนาดเท่ากัน ตัวอย่าง

กำหนดให้ จงหา B + A มาฝึกคิดกัน

A = [ aij]mxn นิยาม ถ้า A = [ aij]mxn และ เป็นสเกลาร์ใด ๆ แล้ว Scalar Multiplication นิยาม ถ้า A = [ aij]mxn และ เป็นสเกลาร์ใด ๆ แล้ว A = [ aij]mxn คูณเมตริกซ์ด้วยสเกลาร์

ให้ A = : B = จงหา 1. 2A + 3B 2. A - 2B 3. + B 4. A - มาฝึกคิดกัน

1. 2A + 3B = เฉลย =

2. A - 2B = เฉลย =

3. + B = เฉลย

4. A- = เฉลย