Cognitive Development

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

บทที่ 2 วัฒนธรรม CULTURE
การจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับธรรมชาติ ของเด็กแต่ละวัย
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การศึกษาและประยุกต์ใช้ขั้นตอนวิธีเชิง วิวัฒน์แบบหลายจุดประสงค์บนคลังข้อมูล เจเมทัล Study of Evolutionary Algorithm in Multi- objective on Library jMetal.
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
การปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
กระบวนการวิจัย(Research Process)
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การศึกษารายกรณี.
ระดับขั้นจุดประสงค์การเรียนรู้ของ Bloom
เมตาคอกนิชัน(Metacognition)
ทฤษฎีการเรียนรู้เชิงประสบการณ์
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
หลักการพัฒนา หลักสูตร
จิตวิทยาการบริหารทีมงาน
การปรับตัวและการเลือกคู่ครอง
การคิดและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
การวิจัยการศึกษา.
เทคนิคการสอนและการใช้สื่อคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
บริษัทประกันภัย Hanover
มนุษย์ มนุษย์เป็นสัตว์สังคม มนุษย์เป็นสัตว์โลก มนุษย์เป็นสัตว์ประเสริฐ
ทฤษฎีพัฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive Development)
คณิตศาสตร์ ในอารยธรรม กรอบความคิดทางคณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์ กับการใช้งาน
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
ความหมาย ปัญญาประดิษฐ์
การสอบถาม อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
และอนามัยสิ่งแวดล้อม
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
(Organizational Behaviors)
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
การก้าวสู่องค์กรแห่ง การเรียนรู้. * กระแสการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นมันรวดเร็วและรุนแรง ก็ด้วยปัจจัยที่ เกิดจากการก้าวกระโดดของเทคโนโลยีสาร สนเทศ ส่งผลให้เวทีการ.
เทคนิคการสร้างเสริมเด็กวัยเรียน
8. ระบบผู้เชี่ยวชาญ.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ปัจจัยของการสร้างนวัตกรรม
ทฤษฎีพัฒนาการทางความคิด (Cognitive Theories) ของเพียเจท์
ทฤษฎีการสร้างความรู้
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ปรัชญาวัตถุนิยมวิภาษ (Dialectical Materialism)
ความสำคัญของการคิด และการประเมินการคิด
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
ทักษะการคิดวิเคราะห์
หลักการแก้ปัญหา
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
ธรรมชาติของเด็กวัยเรียน พัฒนาการเด็กวัยเรียน (อายุ 6-12 ปี)
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาหลักการจัดการ
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
Change Management.
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
วิธีสอนแบบอุปนัย.
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
7.Discussion การอภิปราย นายวัชรกร เดชะบุญ รหัสนิสิต
3. หลักการวิจัย หลักการวิจัย : สำราญ สาราบรรณ์.
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ข้อมูล ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจศึกษา ซึ่งอาจอยู่ในรูปตัวเลข เช่น น้ำหนัก ความสูง ระยะทาง อายุ หรืออาจเป็นข้อเท็จจริงที่อยู่ในรูปคุณลักษณะหรือคุณสมบัติ
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Cognitive Development Dr.Rungson Chomeya

Cognitive Development ทฤษฎีพัฒนาการทางปัญญา พัฒนาการทางปัญญา : การเปลี่ยนแปลง การคิด การเรียนรู้ ความจำ การแก้ปัญหา เด็กแต่ละวัยจะมีขั้นของการพัฒนาที่แตกต่างกัน ทฤษฎีพัฒนาการทางปัญญา Jean Piaget (1896) นักวิทย์ นักปรัชญา จิตวิทยา ฯลฯ สนใจศึกษาพฤติกรรมเด็ก สังเกตจากบุตร 3 คน จุดอ่อนของ ทบ. อยู่ที่กลุ่มตัวอย่าง แต่ ทบ. ก็ได้รับการยอมรับไปทั่วโลก

แนวคิดพัฒนาการทางปัญญา แนวคิดมาจากผลของการวิเคราะห์ทางชีววิทยา สิ่งมีชีวิตดำรงอยู่ได้ด้วยการปรับตัว วิวัฒนาการเป็นผลร่วมกันระหว่างกรรมพันธุ์และ สวล. การเปลี่ยนแปลงทางปัญญาคือการเปลี่ยนโครงสร้างการรู้คิด คล้ายโครงสร้างทางชีววิทยา โครงสร้างความคิดแบ่งเป็น 2 ประการ คือ ความคิดในรูปการกระทำ (Operative Knowledge) และในรูป

ของข้อเท็จจริง (Fact Knowledge) โครงสร้างทางการรู้คิดมีการพัฒนาซับซ้อนมากขึ้นตามขั้นการพัฒนาทางปัญญา กระบวนการพัฒนา 1.กระบวนการจัดระเบียบภายใน (Organization) : การบูรณาการโครงสร้างทางความคิด เช่น เด็กเล็กๆ จะมองวัตถุก่อนจับ 2.กระบวนการปรับ (Adaptation) การรับสิ่งใหม่ๆ ไปไว้ในโครงสร้างการรู้คิดเดิม และปรับขยายโครงสร้าง

ขั้นการพัฒนาทางปัญญา ลักษณะสำคัญคือ ขั้นแต่ละขั้นแตกต่างกัน มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องจากขั้นหนึ่งไปขั้นที่สูงกว่า ไม่มีการข้ามขั้น 1-4 การพัฒนาจะอยู่ในรูปของการบูรณาการ Integration ระหว่างขั้นต่างๆ เข้าด้วยกัน ขั้นที่ 1 ขั้นปฏิกริยาสะท้อน (0 - 2 ปี) พฤติกรรมอยู่ในรูปของ Reflex เช่น กำมือ ดีดเท้า ดูด โครงสร้างการรู้คิดยังไม่เกิดขึ้นเอง แต่เกิดตามสิ่งเร้า เช่น การซุกอกแม่ การค้นหาและดูดหัวนม แบ่งเป็น 5 ขั้นย่อย

ขั้นที่ 2 ขั้นก่อนการคิดแบบเหตุผล (2-7 ปี) มีการพัฒนาทางภาษา การใช้สัญลักษณ์ และการคิด เลียนแบบพฤติกรรมโดยไม่มีแม่แบบได้ การเล่นสมมุติ เช่น ใช้ก้อนหินแทนรถ เริ่มมีการวาดรูป (ผสมผสานการเล่นกับจินตนาการ) การมีจินตภาพในใจ (Mental Image) พัฒนาการทางภาษาพูดจะเกิดขึ้นรวดเร็วมาก ข้อจำกัดของวัย 1.Egocentrism ไม่เข้าใจความคิดคนอื่นๆ 2.Centration การรับรู้แบบมุ่งสู่จุดกลาง มองมิติเดียว 3.State สนใจผลที่เกิดขึ้น ไม่สนใจการเกิด ได้มา

4.Irreversibility คิดย้อนกลับยังไม่ได้ ไม่เข้าใจเรื่องการอนุรักษ์ปริมาณ (สิ่งเท่ากันแม้จะเปลี่ยนรูปร่างก็ยังคงเท่ากัน) ขั้นที่ 3 ขั้นการคิดแบบเหตุผลเชิงรูปธรรม (7-11 ปี) เข้าใจความสัมพันธ์เหตุและผล คิดย้อนกลับได้ เข้าใจการอนุรักษ์ แบ่งกลุ่ม จัดหมวดหมู่ เปรียบเทียบลำดับ ช่วง 10 - 11 ปี เด็กจะเข้าใจเรื่องเวลาและอัตราเร็ว ขั้นที่ 4 ขั้นการคิดแบบเหตุผลเชิงนามธรรม สามารถคิดแก้ปัญหา สรุปเหตุผลได้อย่างเป็นระบบ แม้ข้อมูล

ไม่ครบก็สามารถคิดความเป็นไปได้ สามารถตั้งสมมุติฐาน และสรุปเหตุผลตรวจสอบสมมุติฐาน เด็กที่พัฒนาการถึงขั้นนี้ จะมีการคิดเชิงนามธรรม 3 ประการ 1.คิดเหตุผลอนุมานเชิงสมมุติ (Hypothetical Deductive Reasoning) สรุปจากกฎหรือหลักการทั่วไปไปสู่หลักการเฉพาะ เช่น A<B B<C จะได้ A<C 2.คิดหาเหตุผลจากประพจน์ (Propositional Reasoning) สามารถสรุปเหตุผลจากประพจน์เพื่ออธิบายสิ่งที่เป็นนามธรรม เช่น ถ้าเด็กเป็นนายกรัฐมนตรีจะพบอะไรบ้าง

3.คิดหาเหตุผลแบบอุปมานเชิงวิทยาศาสตร์ (Scientific Inductive Reasoning) คิดแบบวิทยาศาสตร์ สรุปกฎเกณฑ์จากข้อเท็จจริงไปสู่กฎเกณฑ์ทั่วไป คิดเกี่ยวกับผลของตัวแปรได้ทีละหลายตัวแปร เช่น การทดลองสารเคมี การแกว่งของลูกตุ้ม เด็กจะตั้งสมมุติฐาน วางแผนทดลองและสังเกตอย่างเป็นระบบ GAME

พัฒนาการทางปัญญาของเด็กไทย ส่วนใหญ่มักทำการศึกษาวิจัยในเด็กประถมศึกษา สอดคล้องกับทฤษฎีของเพียเจต์ตามขั้นของพัฒนาการ เด็กไทยมีพัฒนาการเฉพาะช่วงอายุช้ากว่าเด็กตะวันตก ในการศึกษาใหม่ๆ พบว่าเด็กไทยมีพัฒนาการเฉพาะช่วงอายุเข้าใกล้เคียงเด็กตะวันตกมากขึ้น เด็กชนบทมีพัฒนาการทางสติปัญญาช้ากว่าเมือง ตามทบ. พัฒนาการทางสติปัญญา ขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะ

พัฒนาการทางปัญญากับการศึกษา ประสบการณ์ และกระบวนการถ่ายทอดทางสังคม พัฒนาการทางปัญญากับการศึกษา 1.ด้านการเรียนการสอน เด็กมีความอยากรู้อยากเห็นและแรงจูงใจภายในที่จะเรียนรู้และเข้าใจสิ่งรอบตัว การสอนควร เน้นให้เด็กเป็นผู้ปฏิบัติการ ทดลอง สังเกต ลงมือทำ คิดคำถาม และหาคำตอบเอง การสอนต้องเน้นกระบวนการมากกว่าการเน้นถูก-ผิด เน้นการมีปฏิสัมพันธ์ การมีส่วนร่วม

ต้องคำนึงถึงความยากของเนื้อหาที่เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก ครูต้องทราบว่าเด็กมีโครงสร้างพัฒนาการทางปัญญาในขั้นใด สังกัปอะไรที่เขามีอยู่ หรือรับได้ 2.ด้านการพัฒนาหลักสูตร คำนึงถึงความสอดคล้องระหว่างประสบการณ์ต่างๆ ที่กำหนดไว้ในหลักสูตร เด็กประถมศึกษา คิดเป็นระบบได้ เข้าใจการสอนที่เป็นทางการได้ มีพัฒนาการทางภาษา ความจำดีมาก บางครั้งอาจจะจำคำนั้นได้โดยไม่รู้ว่าสังกัปของสิ่งนั้นคืออะไร

เด็กมัธยมศึกษาคิดแบบเหตุผลเชิงนามธรรมได้ เรียนรู้ วิเคราะห์หลักเหตุและผลได้ ค้นหาคำตอบด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ได้