บทที่ 3 การเกิดและแหล่งกำเนิดของอัญมณี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ โรงเรียนอุดมดรุณี จังหวัดสุโขทัย
Advertisements

ทังสเตน ทังสเตนหรือวุลแฟรม ( W ) เป็นโลหะสีเทาเงิน นำความร้อนและไฟฟ้าดีมาก ซึ่งมีจุดหลอมเหลวสูงถึง 3410 องศาเซลเซียส ความหนาแน่น 19.3 กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร.
เมฆ(Clouds)และฝน           “เมฆ” อากาศเคลื่อนตัวสูงขึ้นถึงระดับที่อากาศมีอุณหภูมิ ต่ำ จนอากาศอิ่มตัวด้วยไอน้ำ ไอน้ำจะเกิดการควบแน่นเป็น ละอองน้ำหรือระเหิดกลับเป็นผลึกน้ำแข็งขนาดเล็ก.
ลักษณะของระบบนิเวศ Succession /Development ecosystem
ภาวะโลกร้อน (Global Warming).
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ดาวอังคาร (Mars).
(Structure of the Earth)
กลุ่ม ดาวโลก ด.ญ.กรรณิการ์ เพ็งเอี่ยม เลขที่ 11 ม.2/1
รายงานเรื่อง ภาคเหนือ
ควอรตซ์ ไมก้า เฟลด์สปาร์ แอมฟิโบล ไพร็อกซีน แคลไซต์ แร่ประกอบหิน.
Ecology นิเวศวิทยา Jaratpong moonjai.
ภาวะโลกร้อน(Global Warming)
บทที่ 3 ทรัพยากรดิน.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
รายงาน เรื่อง ดินถล่ม เสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี.
ราก (Root) ราก คือ ส่วนที่อยู่ใต้ดิน และมีหน้าที่ ดูดซึมน้ำและแร่ธาตุในดิน ค้ำจุนพืชให้ทรงตัวอยู่ได้ และในพืชบางชนิดจะใช้สะสมอาหาร (
น้ำและมหาสมุทร.
ระบบนิเวศ (ECOSYSTEM)
วิกฤตการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของโลก
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
วิกฤตการณ์เกี่ยวกับมลพิษทางอากาศ
แก้ว แก้วเป็นวัสดุที่มีลักษณะพิเศษ ซึ่งไม่มีวัสดุวิศวกรรมใดเหมือน เพราะเป็นวัสดุที่โปร่งใส แข็งที่อุณหภูมิห้อง พร้อมกันนั้นมีความแข็งแรงเพียงพอและทนทานต่อการกัดกร่อนในสภาพแวดล้อมต่างๆ.
ปฏิบัติการที่ 5 หินตะกอน.
การบำบัดน้ำเสีย อ.วีระศักดิ์ สืบเสาะ.
ผงชูรสแท้หรือปลอม.
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
เปลือกโลก(crust) ประกอบด้วย Oxygen 45.2 ซิลิกอน 27.2 อลูมิเนียม 8.2
โครงสร้างทางธรณีวิทยา
ฟิสิกส์ เรื่อง แสง จัดทำโดย นาย ปณิธาน กาญจนถวัลย์ ม.4/3 เลขที่ 12
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
เรื่อง เครื่องดูดฝุ่น
( Stanum ใช้สัญลักษณ์ Sn )
เตาไมโครเวฟ.
พลอยประจำวันเกิด จัดทำโดย นางสาวรุ่งนภา ลายทอง คณะวิทยาศาสตร์
ตราด.
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
โลกของเรา (โครงสร้างและส่วนประกอบ)
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
แผนภูมิสมดุล ความบกพร่องในผลึก การเปลี่ยนของรูปโลหะ การคืนตัว
ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
10.3 ชนิดของอุทกภัย (1.) แบ่งตามสาเหตุการเกิด
ดินถล่ม.
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
ภูมิอากาศแบบกึ่งอาร์กติก
ทรัพยากรในทางเศรษฐศาสตร์
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
โดย ครูธันว์ชนก บัวคงดี
การหักเหของแสง (Refraction)
ดวงจันทร์ (Moon).
5. Geologic Time F.S.Singharajwarapan.
โลกและการเปลี่ยนแปลง
ดาวพุธ (Mercury).
ดาวศุกร์ (Venus).
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
Facies analysis.
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
น้ำแร่ น.ส.มิ่งขวัญ เครือจันต๊ะ น.ส.ปิยะภรณ์ สอนใจ
4.1 Borehole environment สภาวะความดันระหว่างการเจาะและการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เกิดจากปัจจัยสองส่วนคือ - ความดันในชั้นหิน - ความดันของคอลัมน์ของน้ำโคลน.
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
หินแกรนิต หินแปรเนื้อหยาบ มีริ้วขนาน หยักคดโค้งไม่สม่ำเสมอ สีเข้มและจางสลับกัน แปรสภาพมาจากหินแกรนิต โดยการแปรสภาพบริเวณไพศาล ที่มีอุณหภูมิสูงจนแร่หลอมละลาย.
21.5 การเปลี่ยนแปลงแทนที่
ปฏิบัติการที่ 2 แร่ประกอบหินอัคนี.
ความกระด้างของน้ำ (water Hardness)
ลำดับชั้นหิน.
หิน (ROCK).
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 3 การเกิดและแหล่งกำเนิดของอัญมณี บทที่ 3 การเกิดและแหล่งกำเนิดของอัญมณี (Origin and Occurrence of Gemstones)

3.1 อัญมณีในหินอัคนี (Igneous rock) : เป็นหินที่เกิดจากการตกผลึกของแร่ จากสาร หลอมเหลวร้อนในโลก(magma) แบ่งเป็น Intrusive rock : หินอัคนีที่แข็งตัวอย่างช้าๆ ภายใต้เปลือกโลก ผลึกมีขนาดใหญ่ เช่น หิน granite และหิน pegmatite Extrusive rock : หินอัคนีที่แข็งตัวอย่างรวดเร็วบนเปลือกโลก ผลึกมีขนาดเล็ก ถึงเนื้อแก้ว เช่น หิน basalt หิน obsidian และ หิน kimberlite

อัญมณีที่พบใน extrusive rock อัญมณีเกิดเป็นผลึกขนาดใหญ่ ฝังตัวอยู่ในเนื้อหินที่มีขนาดละเอียดกว่า ส่วนใหญ่พบในหิน basalt ได้แก่ diamond pyroxene fire opal ruby peridot อัญมณีที่เกิดพร้อมๆกับหินต้นกำเนิด เรียกว่า อัญมณีปฐมภูมิ (primary gemstone)

อัญมณีที่ตกผลึกแทรกอยู่ในช่องว่างหรือโพรงของหินที่แข็งตัวแล้ว เรียกว่า อัญมณีทุติยภูมิ (secondary gemstone) agate ที่เกิดอยู่ใน geode agate ที่เกิดอยู่ในช่องว่างของหินอัคนี

เพชร เป็นอัญมณีที่เกิดภายใต้ความร้อนและความดันสูงมาก เกิดที่ความลึกประมาณ 200 km. จากผิวโลก หินอัคนีชนิด kimberlite เป็นตัวนำเพชรขึ้นมาสู่ผิวโลก เคลื่อนผ่านชั้นเปลือกโลกขึ้นมาเป็นแนวตรง มีรูปร่างคล้ายท่อ เรียกว่า kimberlite pipe

อัญมณีที่พบใน intrusive rock พบอัญมณีหลากหลายชนิดกว่าที่พบในหินอัคนี extrusive มักพบเป็นผลึกขนาดใหญ่และสมบูรณ์ ส่วนใหญ่จะหลุดจากหินเดิมมาสะสมรวมกันเป็นแหล่งลานแร่ (placer deposit) หินที่เป็นแหล่งกำเนิดของอัญมณีสำคัญ และมีอัญมณีหลากหลายชนิดมาก คือหิน pegmatite พบเกิดเป็น pocket ที่มีผลึกอัญมณีขนาดใหญ่ คุณภาพดี ใสสะอาด มีรูปผลึกชัดเจน เรียกว่า กล่องอัญมณีธรรมชาติ (natural’s jewel box)

ใน Pegmatite pocket พบอัญมณีชนิดต่างๆ ดังนี้ red beryl yellow beryl emerald beryl (ธาตุเบริลเลียม) green beryl aquamarine morganite

(ธาตุโบรอนและลิเทียม) Tourmaline (ธาตุโบรอนและลิเทียม)

(ธาตุโบรอนและลิเทียม) Topaz (ธาตุฟลูออรีน) Spodumene (ธาตุลิเทียม) Apatite (ธาตุฟอสฟอรัส) Chrysoberyl (ธาตุโบรอนและลิเทียม)

Quartz (SiO2) Feldspar (SiO2)

3.2 อัญมณีในหินตะกอน (sedimentary rock) เรียกว่า แหล่งทุติยภูมิ(secondary deposit) elluvial deposit : เป็นการสะสมตัวของอัญมณีในบริเวณใกล้เคียงกับแหล่งกำเนิด alluvial deposit หรือ placer deposit : เป็นการสะสมตัวของอัญมณีในแหล่งใหม่ ซึ่งอาจเป็นตะกอนทางน้ำหรือทะเล

อัญมณีที่พบในแหล่งทุติยภูมิ มีความทนทาน มีค่า ถ. พ อัญมณีที่พบในแหล่งทุติยภูมิ มีความทนทาน มีค่า ถ.พ. และความแข็งสูง ได้แก่ diamond zircon garnet tourmaline chrysoberyl spinel topaz quartz diamond ruby

3.3 อัญมณีในหินแปร(metamorphic rock) หินแปร เป็นหินที่แปรสภาพมาจากหินเดิมโดยกระบวนการแปรสภาพ เกิดจากการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิและความกดดัน จึงตกผลึกใหม่ในหิน ขณะที่ยังแข็งตัวอยู่ ได้ผลึกแร่ชนิดใหม่และเนื้อหินใหม่ การแปรสภาพแบบไพศาล (regional metamorphism) : พบ ruby sapphire garnet chrysoberyl iolite kyanite เป็นผลึกขนาดใหญ่ฝังตัวในเนื้อหินขนาดเล็กกว่า ruby garnet kyanite

การแปรสภาพแบบสัมผัส (contact metamorphism) : เกิดเป็นแนวแคบๆ ตามบริเวณที่หินเดิมสัมผัสกับ magma ที่แทรกขึ้นมาภายหลัง ความร้อนและสารละลายจาก magma ที่เข้ามาในหินเดิม ทำให้เกิดแร่ชนิดใหม่ อัญมณีสำคัญได้แก่ beryl garnet ruby sapphire spinel axinite และ lazurite blue sapphire emerald demantoid garnet

อัญมณีจากสารละลาย เกิดได้ 2 ลักษณะ คือ การตกผลึกจากน้ำแร่ร้อน (hydrothermal) : ตกผลึกเป็นสายแร่(vein) แทรกเข้าไปในหินที่เกิดอยู่ก่อน ส่วนใหญ่เป็นสินแร่(ore) เช่น ทอง เงิน ตะกั่ว สังกะสี ดีบุก โดยอัญมณีเกิดร่วมกับสินแร่เหล่านี้ เช่น rhodochrosite amethyst topaz ที่สำคัญที่สุดคือ emerald โดยเฉพาะแหล่งในประเทศ Columbia และ Afghanistan พบ emerald ในสายแร่ที่แทรกเข้าไปในหินปูน emerald calcite

การตกผลึกจากสารละลายที่มาจากน้ำผิวดิน(surface water) : น้ำผิวดินหรือน้ำฝนที่มี CO2 ละลายปนอยู่ จึงมีฤทธิ์เป็นกรดอ่อนๆ สามารถละลายแร่ธาตุที่อยู่ในชั้นดิน ชั้นหินที่ซึมผ่านได้ เมื่อถึงบริเวณที่มีสภาวะเหมาะสม จึงเกิดการตกผลึกเป็นแร่ชนิดใหม่ ไดแก่ opal malachite rhodochrosite turquoise agate amethyst opal turquoise

แหล่งอัญมณีสำคัญของโลก