การสืบพันธุ์ของพืช.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นางชัญญานุช สุวรรณ์ทา
Advertisements

ส่วนประกอบของดอก อรพร ยามโสภา Science:Plant_2 Oraporn Yamsopa.
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เนื้อหา โครงสร้างส่วนประกอบของเซลล์ประสาท ชนิดและหน้าที่ของเซลล์ประสาท
การสืบพันธุ์ของพืช.
กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์
นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
เรื่อง พืชดอก โดย.. นางสาวสุมาลี ลีประโคน ครู คศ.1
Leaf Monocots Dicots.
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
พันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ
สาระที่ 4 พีชคณิต.
Cloning : การโคลน , โคลนนิง
เทคโนโลยีชีวภาพกับการปรับปรุงพันธุ์
พฤติกรรมการถ่ายทอดลูกหลานของแมลง Brood Producing Behaviors in Insects
ความหลากหลายทางชีวภาพของพืช
โครโมโซม.
การค้นพบสารพันธุกรรม. ในปี พ. ศ
แนวข้อสอบ - เมนเดลเป็นนักพันธุศาสตร์ที่ทำการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง ต้นถั่วลันเตา - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นลูกเรียกว่า ลักษณะเด่น - ลักษณะพันธุกรรมที่ถ่ายทอดไปสู่รุ่นหลาน.
Microsoft Office Excel
เทคนิคพื้นฐานในการปรับปรุงพันธุ์พืช
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การจำแนกพืช.
เสนอ รศ.สุวิทย์ วรรณศรี รายวิชา BIOL351 ชีววิทยาของสัตว์ในท้องถิ่น
7.Cellular Reproduction
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ( เพิ่มเติม ) ว 40243
วงจรชีวิตของผีเสื้อ.
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
ความหลากหลายของพืช.
การเพิ่มชุดโครโมโซม Polyploidy.
มาเรียนรู้ วิทยาศาสตร์
สำนักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์
DNA สำคัญอย่างไร.
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
การคัดเลือกพันธุ์พืชผสมข้าม
ทบทวน เมนเดล ยีนและโครโมโซม
การสืบพันธุ์ของพืช.
นักเรียนเห็นอะไรบ้างค่ะ?
โดย ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
โรงเรียน ศึกษาสงเคราะห์จิตต์อารี
คอร์เดีย (Cordia) ผู้จัดทำ นางสาวเมทินี หล้าวงศ์
อาณาจักร : PlantaePlantae หมวด : MagnoliophytaMagnoliophyta ชั้น : MagnoliopsidaMagnoliopsida อันดับ : MagnolialesMagnoliales วงศ์ : AnnonaceaeAnnonaceae.
โดย ผศ.ดร.วุฒิไกร บุญคุ้ม ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
พันธุศาสตร์เบื้องต้น (Principle of genetics)
กระบวนการทำงานและบุคลากร
ปริศนาคำทายวิทยาศาสตร์
จัดทำโดย นางสาวปิยะธิดา เยาว ลักษณ์โยธิน
วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง พืช
การแกะสลักดอกลีลาวดีจากหัวไชเท้า
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
เรื่อง บอนสี จัดทำโดย ด. ญ. อาทิตย์ยา ผูกพัน เลขที่ 21 ชั้น ม
การสืบพันธุ์และการถ่ายทอดลักษณะทาง พันธุกรรม. สิ่งมีชีวิตมีการสืบพันธุ์  เพื่อ  1. ดำรงเผ่าพันธุ์  2. ถ่ายทอดลักษณะของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด จากบรรพบุรุษไปสู่รุ่นต่อไป.
บริษัท อเบลเลซซา จำกัด
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
มัลติเพิลอัลลีล MULTIPLE ALLELES
ด.ช.สุรเวศม์ สุวรรณดำรงผล ม.1/2 เลขที่ 6
อ.ดร. จิรวัฒน์ สนิทชน ภาควิชาพืชศาสตร์และทรัพยากรเกษตร
การสืบพันธุ์และการเจริญเติบโต(Reproduction & Development)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสร้างความร่วมมือระหว่างบ้านและโรงเรียน: บทบาทผู้ปกครองและครู
การสืบพันธุ์ Reproduction.
การสืบพันธุ์ของพืชดอก
การสืบพันธุ์ของพืช.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การสืบพันธุ์ของพืช

โครงสร้างของดอก

ดอกชบา

ดอกชงโค

ดอกกล้วย

ดอกข้าว

การเจริญของข้าว

การสร้างละอองเรณู ขบวนการสร้างละอองเรณู (Microsporogenesis) เซลล์ในอับเรณู (anther) ที่เรียกกันว่า pollen mother cellหรือ microspore mother cell ซึ่งมี โครโมโซม 2 ชุด(2n)จะแบ่งตัวแบบไมโอซิส จะได้ ละอองเรณู 4 เซลล์ จะมีโครโมโซมชุดเดียว (n)

ภายในละอองเรณูแต่ละเซลล์ ซึ่งมีนิวเคลียส 1 อัน(n) นิวเคลียสจะแบ่งตัวแบบไมโตซิส 1 ครั้ง ได้นิวเคลียส 2 อัน คือ generative nucleus (n) และ tube nucleus (n)

การสร้างไข่ ขบวนการสร้างไข่ (Megasporogenesis) การสร้างไข่ (ovum) เริ่มต้นจากเซลล์ในรังไข่ที่เรียกว่า Megaspore mother cell (2n) แบ่งแบบไมโอซิสได้ เซลล์ 4 เซลล์แต่ละเซลล์มีโครโมโซมในสภาพ haploid (n) แต่ 3 เซลล์จะสลายตัวไปเหลือเพียง 1 เซลล์ พัฒนามาเป็น megaspore

นิวเคลียสของ megaspore จะแบ่งตัวแบบไมโตซิส 3 ครั้งได้นิวเคลียสทั้งหมด 8 อัน และมีการจัดเรียง ตัวกันเป็นชุด 3 ชุดคือ ชุดที่ 1 เรียกว่า antipodal nuclei (มีนิวเคลียส 3 อัน) จะอยู่ที่ขั้วหนึ่งของเซลล์ ชุดที่ 2 เรียกว่า poler nuclei (มีนิวเคลียส2อัน) จะอยู่ตรงกลางเซลล์

ชุดที่ 3 มีนิวเคลียส 3 อัน จะอยู่ด้านล่างของ เซลล์ที่มี Micropyle นิวเคลียสชุดนี้จะมี egg nucleus อยู่กลางขนาบข้างด้วย synergid nuclei

http://dragon.seowon.ac.kr/~bioedu/bio/ch22.htm

การถ่ายละอองเรณู ละอองเรณูปลิวไปตกบนยอดเกสรตัวเมีย (stigma) เรียกว่า ขบวนการถ่ายละอองเกสร (pollination)

การปฏิสนธิในพืช (Fertilization in Plants) ละอองเรณูจะงอก pollen tube ลงไปตามก้านชูเกสร ตัวเมีย (style) จนถึง embryo sac นิวเคลียสของ ละอองเรณูซึ่งอยู่ในสภาพ haploid จะแบ่งตัวแบบ ไมโตซิส 1 ครั้ง ได้ 1.tube nucleus 2.generative nucleus

generative nucleus จะแบ่งตัวแบบไมโตซิสอีกครั้ง หนึ่งได้ sperm nucleus 2 อัน sperm nucleus หนึ่งอันจะเข้าไปผสมกับ egg nucleus ได้ zygote หรือ embryo (2n) sperm nucleus อีกอันหนึ่งจะเข้าผสมกับ 2 polar nuclei กลายเป็นเอนโดสเปอร์ม (endosperm) ซึ่งมีโครโมโซม 3 ชุด หรือ 3n

ดังนั้นพืชจะมีขบวนการปฏิสนธิเกิดขึ้น 2 ครั้ง จึง เรียกการปฏิสนธิแบบนี้ว่า การปฏิสนธิซ้อนหรือ double fertilization

การปฏิสนธิของพืชดอก