Computer Architecture and Assembly Language

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำสั่งควบคุมในโปรแกรม Interactive C
Advertisements

โปรแกรมทดสอบที่1 ทดสอบการแสดงผลข้อความ
อัลกอริทึ่มทำงานวนซ้ำ
สรุปคำสั่ง if(เงื่อนไข)
Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
การเขียนโปรแกรม แบบมีโครงสร้าง (ต่อ)
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 3 ตอนที่ 1 คำสั่งเงื่อนไขและการตัดสินใจ(p
โครงสร้างควบคุมและคำสั่งแบบเงื่อนไข
Lecture no. 5 Control Statements
Lecture 4: ทางเลือก, เงื่อนไขของทางเลือก
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
คำสั่ง while ควบคุมการทำงานวนซ้ำ กรณีระบบงานมีลักษณะตรวจสอบเงื่อนไขก่อน แล้วเข้าสู่ส่วนลำดับงานคำสั่งที่กำหนดไว้ การเขียนคำสั่ง while ต้องกำหนดนิพจน์แบบตรรกะเป็นเงื่อนไขมีค่าในหน่วยความจำเป็น.
บทที่ 5 การทำงานแบบวนซ้ำ
บทที่ 4 การตัดสินใจในการเขียนโปรแกรม
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
Repetitive Statements (Looping)
Repetitive Instruction
คำสั่งเงื่อนไขและการควบคุม
โครงสร้างควบคุม 1. โครงสร้างควบคุมแบบวนทางเลือก
บทที่ 1. พื้นฐานความรู้ทั่วไป
การจำลองความคิด
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข IF Statement
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Introduction to Digital System
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
การพัฒนาเว็บด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
บทที่ 10 โครงสร้างควบคุม
ธนาวินท์ รักธรรมานนท์
หน่วยที่ 4: คำสั่งควบคุมโปรแกรม (Control Flow Command)
คำสั่งควบคุมการทำงาน
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Chapter 6 Decision Statement
Chapter 7 Iteration Statement
คำสั่ง while และ do…while
การเขียนเว็บเพจด้วยภาษา php ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
คำสั่งควบคุมการทำงานของ ActionScripts
Week 3 Flow Control in PHP
บทที่ 10 คำสั่งควบคุม OUTLINE 1. คำสั่งแบบเรียงลำดับ (Sequence)
2.3.1 รหัสเทียม (Pseudo code)
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
การกระโดดและการวนรอบ
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
CHAPTER 4 Control Statements
อัลกอริทึ่มทำงานวนซ้ำ
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
การเขียน แบบวนซ้ำ , วนลูป
หลักการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
บทที่ 6 พจนานุกรมข้อมูล และ คำอธิบายกระบวนการ
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
Nested loop.
Introduction to Computer Organization and Architecture Flow of Control ภาษาเครื่อง สายงานของการ ควบคุม.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Programming)
Digital image Processing By Asst. Prof. Juthawut Chantharamalee
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Computer Architecture and Assembly Language By Juthawut Chantharamalee Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

บทที่ 11 โครงสร้างควบคุม (Control Structure) บทที่ 2 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

การสร้างโครงสร้างการตัดสินใจแบบ if-then-else รูปแบบของโครงสร้างที่ง่ายที่สุดคือโครงสร้างแบบ if-then-else รูปแบบของ โปรแกรมภาษาแอสเซมบลีให้มีโครงสร้างแบบ if-then-else มีลักษณะดังนี้ if condition is false then jump to elselabel then_actions jump to endif_label elselabel: else_actions endif_label: Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

ตัวอย่างโปรแกรม โปรแกรมที่ 11.1 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

การสร้าง repeat until loop มีลักษณะรูปที่ 11.1 รูปที่ 11.1 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

เราสามารถเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาแอสเซมบลีโดยมีโครงสร้างแบบ repeat until ได้ดังตัวอย่าง โปรแกรมที่ 11.2 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

repeat until loop รูปแบบของโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีที่เทียบเท่ากับ repeat until loop มีลักษณะ เป็นดังนี้ startlabel: action; ... if condition is false then jump to startlabel Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

การสร้าง while loop ในภาษาระดับสูงทั่วไปมีลักษณะรูปที่ 11.2 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

เราสามารถเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาแอสเซมบลีโดยมีโครงสร้างแบบ while loop ได้ ดังตัวอย่าง Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

การสร้าง for loop มีลักษณะรูปที่ 11.3 รูปที่ 11.3 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

for loop รูปแบบของโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีที่มีโครงสร้างเป็นแบบ for loop มีลักษณะดังนี้   initialize index variables startloop: if index value is not in the range then jump to endloop action . . . update index variable jump to startloop endloop: Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

เราสามารถเขียนโปรแกรมโดยใช้ภาษาแอสเซมบลีโดยมีโครงสร้างแบบ for loop ได้ดังตัวอย่าง โปรแกรมที่ 11.4 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

for loop เรายังสามารถใช้คำสั่ง LOOP ในการสร้างโครงสร้างแบบ for loop ได้ เช่นเดียวกัน ดังต่อไปนี้   set the value of CX startloop: actions LOOP startloop  แต่การใช้คำสั่ง LOOP ในการสร้างโครงสร้างแบบ for loop ไม่สามารถสร้าง โครงสร้างการกระทำซ้ำที่มีความซับซ้อนมาก ๆ ได้ เช่นการกระทำซ้ำที่มีวงรอบของการ กระทำซ้ำซ้อนกันหลาย ๆ วง Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

for loop สำหรับคำสั่ง LOOPZ และ LOOPNZ นั้น เราสามารถนำมาใช้ในการสร้าง โครงสร้างควบคุมที่มีความซับซ้อนขึ้นได้ โดยโครงสร้างดังกล่าวจะมีลักษณะปนกัน ระหว่าง for loop และ while loop หรือ repeat until นั่นคือเงื่อนไข ควบคุมการกระทำซ้ำจะขึ้นกับทั้งค่าของรีจิสเตอร์ (มีลักษณะคล้ายโครงสร้างแบบ for loop) และเป็นเงื่อนไขจริง ๆ (คล้าย repeat until loop และ while loop) ดังในตัวอย่างโปรแกรมต่อไปนี้ Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

เงื่อนไขควบคุมการกระทำซ้ำจะขึ้นกับทั้งค่าของรีจิสเตอร์ โปรแกรมที่ 11.5 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

สรุป การใช้คำสั่งกระโดดมาสร้างเป็นโครงสร้างควบคุมรูปแบบต่าง ๆ การใช้คำสั่งกระโดดใน ลักษณะนี้จะทำให้โปรแกรมของเรามีความเป็นโครงสร้างมากขึ้น เช่น การสร้างโครงสร้าง การตัดสินใจแบบ if-then-else, repeat until loop, while loop และ for loop เป็นต้น ดังนั้นผู้เขียนโปรแกรมภาษาแอสเซมบลีจำเป็นจะต้องทำ ความเข้าวิธีการและรูปแบบการเลือกการสร้างโครงสร้างควบคุมใช้งานให้เหมาะสมมาก ที่สุด Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)

The End Lesson 11 Suan Dusit Rajabhat University (Computer Science)