ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
Advertisements

ทางออก ทางรอดชนบทไทย ในกระแสอาเซียน”
หน้าที่ของผู้บริหาร.
การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๑)
ความหมาย ความสำคัญของจริยธรรม
พลเมืองเรื่องดีในวิถีชีวิตประชาธิปไตย
ระบบเศรษฐกิจ.
สิ่งท้าทายพระสงฆ์ในบริบทสังคมปัจจุบัน
รายงานผลการศึกษาทางจิตวิทยา นักเรียนหญิงก่อเหตุทำร้ายกัน
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
การมองทฤษฎีการพัฒนาอย่างวิเคราะห์
กุลภัทรา สิโรดม 20 กรกฎาคม 2554
เศรษฐกิจพอเพียง.
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
สังคมศึกษา.
บทที่ 6 ค่านิยมในสังคมไทย
ชีวิตและวัฒนธรรมไทย
หัวใจของแผน HRD หัวใจของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
การพัฒนาที่ยั่งยืน การพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development) คือ การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรธรรมชาติเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของประชากรโลก.
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
เขตแดน และ เขตอำนาจรัฐ
HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก.
การพัฒนาสังคม Social Development 5 : 16 ธ.ค. 54.
สัปดาห์ที่ 4.
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสิงห์บุรี
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
สรุปสาระสำคัญโดยสังเขปของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ด.ช.ณัฐนันท์ขาววิเศษ เลขที่1ป4/6
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
(Individual and Organizational)
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง (Conflict and Negotiation)
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
(บรรยายหลักสูตรนักบริหารระดับกลาง กระทรวงมหาดไทย)
KM ประจำเดือนตุลาคม 2550 สวัสดีค่ะ...พบกับข้อมูลข่าวสาร KM ของกองการเจ้าหน้าที่ ได้ที่นี่กันเป็นประจำ นะคะ ... และสำหรับการต้อนรับปีงบประมาณใหม่ ปี 2551.
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
บทเรียนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
คำถามสำคัญของกฎหมายสิทธิมนุษยชน
Law and Modern World ภาคการศึกษา 2/2556.
การใช้อำนาจและอิทธิพล
ความยากจนกับสังคมไทย ปัญหาและทางออก
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
การพัฒนาสังคม ผศ. ดร. จิตรกร โพธิ์งาม.
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง หลวงในรักเรา เรารักในหลวง
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
บทที่ 3 ปรัชญาและแนวความคิดของการพัฒนาชุมชน
การปฏิวัติฝรั่งเศส.
การแปลงนโยบายและแผน นำสู่การปฏิบัติ
วิชา หน้าที่พลเมืองฯ ม.1
ประสบการณ์การบริหาร มหาวิทยาลัย ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๐. เรื่องที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ รูปแบบการบริหารและขอบเขต อำนาจ.
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
การจัดการด้านสุขภาพของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สู่เมืองไทยแข็งแรง รัฐบาลได้ประกาศให้ “ เมืองไทยแข็งแรง ” โดยกำหนด เป้าหมายให้คนไทยแข็งแรงถ้วน หน้า ในปี
เรื่อง สถาบันการเมืองการปกครอง
ธรรมาภิบาลกับการจัดการภาครัฐแนวใหม่
ทิศทางใหม่ของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
จัดทำโดย ปฏิภาณ ไชยกุล อดิศร สุดดวง
ความรู้เบื้องต้นทางรัฐศาสตร์ การเมือง
ทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์
หน่วยการเรียนที่ 2 สิ่งแวดล้อม และทรัพยากรทางธรรมชาติ
เรื่อง สมานฉันท์ จัดทำโดย นายยศพล ปรางค์ภูผา
จัดทำโดย ชื่อนายฤทธิ์รงค์ ลิ้มม่วงนิล ช่างยนต์ ปวช.1 เลขที่19
จัดทำโดย ด.ช. ดิเรกรัตน์ ด่านลัมจาก เลขที่3
นิเวศวิทยาการเมือง : ความยั่งยืนทางนิเวศในสังคมไทย
หลักการบริหารงานบุคคลตามระบบคุณธรรม
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ อนุรักษ์นิยม (Conservatism) ลัทธิการเมืองที่ให้ความสำคัญกับอดีต ไม่นิยมการปฏิรูป หากจะมีการเปลี่ยนแปลงควรจะเป็นไปตามสภาพสังคม โดย ไม่ทำลายคุณธรรมที่ดีงามที่ได้ยึดถือกันมาก่อน เหตุผลไม่ใช่เป็นหลักสำคัญประการเดียว แต่ประเพณีที่ ยึดถือกันมาแต่เดิมนั้นเป็นเครื่องพิสูจน์ให้เห็นว่าเป็นสิ่งที่ใช้ ได้ ควรจะนำมาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวการกระทำทั้งหลายใน สังคม

ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ อนุรักษ์นิยม (Conservatism) ความเป็นมา : การปฏิวัติฝรั่งเศส ปี 1789 เป็นเหตุให้เกิดกระแสการ อนุรักษ์นิยม โดยนำสิ่งใหม่มาสู่สังคม : มนุษย์มีความเท่าเทียมกัน (Equal) : ความเป็นไปได้ที่จะสมบูรณ์แบบ (Perfectible) จะก่อให้เกิดผลกระทบต่อการเมืองอย่างมาก

องค์ประกอบพื้นฐานของลัทธิอนุรักษ์นิยม ประเพณี (Tradition) ลัทธิปฏิบัตินิยม (Pragmatism) ความไม่สมบูรณ์ของมนุษย์ (Human imperfection) อนุรักษ์นิยม อินทรียภาพ (Organicism) ลำดับชั้นที่สูงที่ต่ำ (Hierarchy) อำนาจหน้าที่ (Authority) ทรัพย์สิน (Property)

ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ อนุรักษ์นิยม (Conservatism) หลักการสำคัญ : 1. ประเพณี (Tradition) เป็นความคิดหรือกิจกรรมใดๆ ที่อยู่ช่วงการเปลี่ยนแปลง โดยสะท้อนให้เห็นการสั่งสมใน อดีต ประเพณีเป็นสิ่งดีงาม 2. การปฏิบัตินิยม (Pragmatism) โดยเห็นว่า เหตุผล (Reason) มีข้อจำกัดในการดำรงชีวิตของมนุษย์ แต่จะนิยม ประสบการณ์ (Experience) ประวัติศาสตร์ (History) และ สิ่งที่ปฏิบัติได้

ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ อนุรักษ์นิยม (Conservatism) หลักการสำคัญ : 3. ความไม่สมบูรณ์มนุษย์ (Human Imperfection) เป็นความคิดพิจารณามนุษย์แง่ร้าย/ลบ (Pessimistic) หรือ มนุษย์มีข้อจำกัด (Limited) ต้องพึ่งผู้อื่น เห็นแก่ตัว กระหาย อำนาจ จะอาศัยรัฐที่เข้มแข็ง เข้มงวดกฎหมายและลงโทษ เด็ดขาด

ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ อนุรักษ์นิยม (Conservatism) หลักการสำคัญ : 4. อินทรียภาพ (Organicism) เป็นความคิดที่ว่า จะไม่มี มนุษย์สามารถอยู่นอกสังคม เพราะมนุษย์มีข้อจำกัดและ ต้องพึ่งผู้อื่น จึงต้องรวมกลุ่ม เช่น ครอบครัว กลุ่มเพื่อน ฯลฯ โดยกลุ่มเกิดเองตามธรรมชาติ มองเป็นสิ่งมีชีวิต 5. ระดับต่ำสูง (Hierarchy) องค์ประกอบสังคม/อวัยวะ มีความหมายและความสำคัญไม่เท่ากัน เน้นย้ำความไม่เสมอ ภาค

ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ อนุรักษ์นิยม (Conservatism) หลักการสำคัญ : 6. อำนาจหน้าที่ (Authority) เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นตามมา ธรรมชาติ ไม่ใช่การตกลงรวมกัน ให้ความสำคัญกับภาวะ ผู้นำและการมีระเบียบวินัย 7. ทรัพย์สิน (Property) ทรัพย์สินสะท้อนถึงความ สามารถของปัจเจกชน ผู้ที่ฉลาดและทำงานหนักจะมีความ ร่ำรวยได้ ทรัพย์สินยังทำให้ผู้ครอบครองรู้สึกเป็นผู้ส่าวนได้ ส่วนเสียของสังคมชัดเจนขึ้น

ประเภทอนุรักษ์นิยม 1. อนุรักษ์นิยมแนวอำนาจนิยม (Authoritarian Conservatism) 2. อนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์ (Paternalistic Conservatism) ประเภทอนุรักษ์นิยม 3. อนุรักษ์นิยมแนวเสรีภาพ (Libertarian Conservatism) 4. อนุรักษ์นิยมขวาใหม่ (The Conservatism New Right)

ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ 1. อนุรักษ์นิยมแนวอำนาจนิยม (Authoritarian Conservatism) เป็นอนุรักษ์นิยมที่ต้องการให้รัฐบาลมีอำนาจมากๆ Joseph De Maistre นักคิดทางการเมืองชาวฝรั่งเศสไม่พอใจการปฏิวัติปี 1789 เสนอว่า “พระราชาปกครองมนุษย์ แต่เหนือกว่าพระราชาทั้งหลายขึ้นไป ควรเป็นอำนาจของพระสันตปาปาปกครอง” มนุษย์ควรยอมรับอำนาจปกครองที่เป็นมาตั้งแต่ครั้งก่อน แม้อำนาจ จะโหดร้ายและดูไร้เหตุผล แต่อำนาจสร้างความเป็นระเบียบเรียบร้อยและ นำมาสู่ความมั่นคงปลอดภัยแก่ประชาชน

ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ 1. อนุรักษ์นิยมแนวอำนาจนิยม (Authoritarian Conservatism) ผู้นำที่โหดร้ายควรได้รับการเชื่อฟัง เพราะการใช้อำนาจจะเป็นที่ยำ เกรงและความโกลาหลวุ่นวายที่ไม่สิ้นสุดก็จะไม่เกิดขึ้น ในทางตรงกันข้าม การปฏิวัติเป็นการทำลายล้างอำนาจการปกครอง หลังการปฏิวัติบ้านเมืองจะมีสภาพไร้ขื่อแป ความโกลาหลวุ่นวายจะเกิด ขึ้นอย่างไม่มีที่จบสิ้น ความมั่นคงปลอดภัยในชีวิตประชาชนจะรักษาไว้ ไม่ได้ นักอนุรักษ์นิยมแนวอำนาจนิยมจะเป็นพวกกลุ่มปฏิกิริยา (Reactionary) ย้อนกลับหาอดีตที่เรืองรอง ปฏิเสธการปฏิรูปใน ปัจจุบันและนิยมความรุนแรง หรือนักอนุรักษ์นิยมแนวรุนแรง (Radical)

ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ 2. อนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์ (Paternalistic Conservatism) อนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์มีความยืดหยุ่นกว่าและได้รับความนิยมมาก กว่า นำโดย Edmund Burke (1729-1797) เสนอ “การเปลี่ยนแปลง (Change) เป็นเรื่องธรรมชาติที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ จึงไม่ควรต่อต้านการเปลี่ยนแปลงอย่างหัวชนฝา” “รัฐที่ไม่มีกลไกการเปลี่ยนแปลงย่อมเท่ากับไม่มีกลไกในการผดุง รักษาตนเอง” อนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์จะเน้นสิ่งปฏิบัติได้ ไม่เน้นสุดขั้วทั้งแง่ปฏิบัติ และปฏิกิริยา รวมทั้งอ่อนน้อมถ่อมตน

1. “การรักษาความต่อเนื่องของสังคม” การปฏิวัติเป็นสิ่งไม่ดี นำมา ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ 2. อนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์ (Paternalistic Conservatism) หลักการพื้นฐานอนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์ของEdmund Burke มี 4 ประการ 1. “การรักษาความต่อเนื่องของสังคม” การปฏิวัติเป็นสิ่งไม่ดี นำมา ซึ่งความรุนแรงอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ผู้ยึดอำนาจย่อมไม่สามารถใช้ อำนาจปกครองอย่างสงบเรียบร้อยได้ จะยุติด้วยสันติวิธีทำได้ยาก เสนอ ให้ใช้ “การปฏิรูปเพื่อรักษาสิ่งที่มีอยู่” (Reform in Order to Conserve“ ปรับปรุงสิ่งที่ไม่เหมาะสมบ้างเพื่อรักษาแบบแผนเดิมให้อยู่ต่อไป

ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ 2. อนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์ (Paternalistic Conservatism) 2. “วิพากษ์ลัทธิปัจเจกบุคคลนิยม” ปัจเจกบุคคลไม่มีความหมาย ถ้าอยู่นอกสายสัมพันธ์ทางสังคม ระเบียบสังคมและการเมืองละเอียดอ่อน ถูกทำลายได้ง่ายกว่าการสร้างใหม่ การกระทำที่เปลี่ยนแปลงระเบียบ สังคมและการเมืองต้องรอบคอบ 3. “ผู้ปกป้องราชาธิปไตยและอภิชนาธิปไตย (Aristocracy)” ความไม่เท่าเทียบกันเป็นเรื่องธรรมชาติและเลี่ยงเลี่ยงไม่ได้ของสังคม มนุษย์ การชี้นำและการนำจะตามมา สังคมจะมีโครงสรค้างลดหลั่นกัน หรือสูงต่ำตามลำดับ ผู้ใหญ่ดูแลปกป้องผู้น้อย ผู้น้อยเคารพเชื่อฟังผู้ใหญ่ ผู้น้อยเมื่อพร้อมความสมารถและเหมาะสมจะเป็นผู้ใหญ่ ราชาธิปไตยและ อภิชนาธิปไตยมีโครงสร้างสายสัมพันธ์เหมือนดังกล่าว

ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ 2. อนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์ (Paternalistic Conservatism) 4. “ผู้ปกป้องระบบทรัพย์สินส่วนบุคคล” ทรัพย์สินควรจะเป็นของ เอกชน/ส่วนบุคคล และไม่จำเป็นต้องกระจายให้เท่าเทียมกัน และยกตก เป็นมรดกได้ และควรมีสัดส่วนสัมพันธ์กับอำนาจทางการเมืองที่บุคคลเข้า มีส่วน รัฐสภาควรเป็นสถานที่ที่แสดงให้เห็นถึงตัวแทนผู้มีฐานะตำแหน่ง ทางสังคมและผู้มีอิทธิพลทางเศรษฐกิจด้วย นอกจากนี้ อนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์ ยังเชื่อมโยงแนวคิด Benjamin Disraeli (1804-1881) อดีตนายกรัฐมนตรีอังกฤษ ภายใต้กระแสความ ขัดแย้งสังคมระว่างคนรวยกับคนจนเรียกว่ามี 2 ชาติ (2 Nations : The Rich and The Poor) นักอนุรักษ์ : ผู้เปลี่ยนแปลงอย่างถอดราก ชาว คริสต์ การเป็นยิว เป็นศิลปิน : นักการเมือง การเป็นคนชั้นสูง (Lord) : การยกย่องกรรมกร

ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ 2. อนุรักษ์นิยมแนวอุปถัมภ์ (Paternalistic Conservatism) ทั้งนี้ คนรวยต้องอยู่ต่อไปโดยไม่โดนล้มอำนาจ ซึ่งต้องกลับยึด เชื่อมั่นตามจารีตประเพณีดั่งเดิม คนชั้นสูงต้องดูแลคนต่ำกว่า ฐานะสูงมี ภาระหน้าที่ต่อสังคมมากกว่าผู้ที่ยากจนและต่ำต้อย

ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ 3. อนุรักษ์นิยมแนวเสรีภาพ (Libertarian Conservatism) อนุรักษ์นิยมแนวเสรีภาพเกิดขึ้นปลาย ศ. 19 ต่อกับต้น ศ. 20 เนื่องจากรัฐเข้าแทรกแซงระบบเศรษฐกิจมากขึ้น แต่อนุรักษ์นิยมแนว เสรีภาพพิจารณาว่า รัฐควรปล่อยเสรีทางเศรษฐกิจ โดยสอดคล้องกับ นักเสรีนิยม แต่ปัจเจกชนต้องการความคุ้มครองจากจารีตประเพณีและ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยทางสังคม

ลัทธิการเมืองเน้นเสรีภาพบุคคล/นิยมเสรีภาพ 4. อนุรักษ์นิยมแนวขวาใหม่ (The Conservatism New Right) อนุรักษ์นิยมแนวขวาใหม่ (New Right) เป็นคำเรียก การเคลื่อน ไหวทางความคิดที่เกิดขึ้นในยุโรปตะวันตก (Eng F Ger) และ USA ใน 1970 “เศรษฐกิจเสรีกับรัฐเข้มแข็ง” Free Economy and Strong State จึงคล้ายคลึงกับอุดมการณ์เสรีนิยมทั่วไป