บทที่ ๒ พัฒนาการของรัฐธรรมนูญนิยม (CONSTITUTIONALISM)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 การจัดทำกฎหมาย.
Advertisements

การเมืองและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ความหมายของประชาธิปไตย
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง (ICCPR)
ข้อเสนอว่าด้วย ระบบเลือกตั้งและสถาบันการเมือง
หลักการและเหตุผล ชุมชนท้องถิ่นเป็นสังคมฐานราก ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ การพัฒนาประเทศที่ผ่านมา ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลให้ชุมชนท้องถิ่นอ่อนแอ.
รัฐธรรมนูญใหม่ (พ.ศ. 2550) กับการปกครองท้องถิ่นไทย โดย
หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
กองทุนพัฒนาไฟฟ้ากับ การพัฒนาชุมชนในพื้นที่รอบโรงไฟฟ้า
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
การพัฒนานโยบายความมั่นคงแห่งชาติ ของกระทรวงวัฒนธรรม
การปกครอง ระบอบประชาธิปไตย นางสาวโสภา กาฬภักดี.
สาระสำคัญของ ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ....
สรุปวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society) รศ. น. ท. ดร
รหัสวิชา มนุษย์กับสังคม (Man and Society)
กฎหมายเบื้องต้น.
รายงาน เรื่อง การปฏิวัติการค้าสมัยยุโรป เสนอ คุณครู อรวรรณ กองพิลา โรงเรียนฝางวิทยายน สำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษาขอนแก่นเขต 25.
เรื่อง หน้าที่พลเมือง
สังคมศึกษา.
ความหมาย ลักษณะ และการบังคับใช้ กฎหมายคุ้มครองแรงงาน
๒ การจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization)
HUMAN RIGHTS สิทธิมนุษยชน สำนักงานพระธรรมนูญทหารบก.
กฎหมายการเงิน การคลังทั่วไป
เค้าโครง ภาค ๑ หลักทั่วไป ภาค ๒ ความเป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ
การตอบสนองความต้องการของผู้ปกครอง ในกรอบกติกา
ความเป็นมา รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2550
ประเภทลัทธิทางการเมือง
สัปดาห์ที่ 4.
การขัดกันแห่งกฎหมาย (Conflict of law)
อุดมการณ์ทางการเมือง (Political ideology)
นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ
หลักสูตรสาธารณสุขศาสตรบัณฑิต (ส.บ. หรือ B.PH.)
1. Popular Sovereignty 2. Individuals Rights, Liberty, and Equality 3. Consent 4. Representation.
: ระบอบประชาธิปไตยในยุคโลกาภิวัฒน์
1. การพัฒนาประชาธิปไตย : สถาบัน
ระบอบประชาธิปไตย ความหมาย นิยามตามศัพท์ของคำ.
YOUR SUBTITLE GOES HERE
การร่างกฎหมาย การให้ความเห็นทางกฎหมาย และการดำเนินคดีปกครอง
ความก้าวหน้าการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๕๕
Chapter 10 จรรยาบรรณของนักธุรกิจ
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ กับกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในชุมชน
ค่าใช้จ่ายในการจ้างเอกชนดำเนินงาน
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
แนวทางการขับเคลื่อน การสร้างความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การใช้ดุลพินิจในการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น
การตราข้อบัญญัติ (อบต.)
๒๕ ธ.ค. ๒๕๕๑ ณ โรงแรมมิราเคิล แกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพฯ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ กฎหมาย กฎหมาย คือ ข้อบังคับ ของรัฐซึ่งกำหนดความ ประพฤติของพลเมืองไว้ ถ้าผู้ใดฝ่าฝืนจะได้รับการ ลงโทษ โดยเจ้า พนักงานของรัฐ.
จงเตรียมรบให้พร้อมสรรพ์
บทเรียนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในประเทศไทย
นโยบายสาธารณะกับการปฏิรูปการเมือง การปกครอง และการบริหาร
โครงร่างของรัฐธรรมนูญ 2550(Social Contract)
Globalization and the Law III
การปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
บทเรียนจาก รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐
จุดเด่น / จุดขาย ของร่างรัฐธรรมนูญ พุทธศักราช.....
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
สาระสำคัญของกฏหมายปกครอง
สรุปความเห็นและข้อเสนอแนะ ในการยกร่างรัฐธรรมนูญ ของคณะกรรมาธิการ ๑๘ คณะ จำนวน ๒๔๖ ประเด็น 1 ข้อมูลสรุป ณ วันพฤหัสบดีที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ เวลา ๒๒.๓๐ นาที
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 33101
หลักการแบ่งแยกอำนาจ และสถาบันทางการเมือง
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะชำนาญการ
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
กรอบแนวทางในการยกร่างรัฐธรรมนูญ พ.ศ ของคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ
การแบ่งแยกกฎหมายมหาชนและกฎหมายเอกชน
1 เรื่อง หลักเกณฑ์และ เงื่อนไข การ พิจารณาอนุมัติให้ใช้น้ำ กระแสไฟฟ้า หรือสิ่ง สาธารณูปโภคอื่น เพื่อการ จัดสวัสดิการภายในส่วน ราชการ.
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ผู้สอน ครูศรีวรรณ ปานสง่า
“สหกรณ์กับการบังคับใช้กฎหมายว่าด้วยสหกรณ์ และกฎหมายอื่น”
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ ๒ พัฒนาการของรัฐธรรมนูญนิยม (CONSTITUTIONALISM)

บทที่ ๒ พัฒนาการของรัฐธรรมนูญนิยม (CONSTITUTIONALISM) รัฐธรรมนูญนิยมเป็นกระแสความคิดที่เน้นการจัดทำ รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรเพื่อจำกัดการใช้อำนาจ ผู้ปกครอง สร้างความเป็นธรรมในสังคม และสร้างเสถียรภาพ และประสิทธิภาพให้รัฐบาล

๑. การปกครองโดยจารีตประเพณี และการฝ่าฝืนกับความพยายามจำกัดอำนาจ 1215 Magna Carta 1628 Petition of Rights 1688 Bill of Rights

๒. ความพยายามจำกัดอำนาจผู้ปกครองโดยกฎหมาย ๒.๑ ทฤษฎีกฎหมายธรรมชาติ (Natural Law) ๒.๒. ทฤษฎีประชาธิปไตย/เสรีนิยม ๒.๒.๑. สัญญาประชาคม Locke, Rousseau ๒.๒.๒. การแบ่งแยกการใช้อำนาจอธิปไตย Montesquieu

๓. การนำปรัชญามาบัญญัติเป็นกฎหมาย ๓.๑. รัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกาปี 1787 ๓.๒. การปฏิวัติฝรั่งเศส 1789 รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร : สัญญาประชาคม การคุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์,เสมอภาค สิทธิ เสรีภาพ การแบ่งแยกการใช้อำนาจอธิปไตย การปกครองโดยความยินยอมของผู้ใต้ปกครอง (ประชาธิปไตย) การปกครองโดยกฎหมาย (นิติรัฐ)

คำประกาศสิทธิมนุษยชน (แต่ละคน) และพลเมือง (แต่ละคน) (Déclaration des droits des l’homme et du citoyen) ลงวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๑๗๘๙ ข้อ ๔ “เสรีภาพ ก็คือ ความสามารถที่จะกระทำการใดก็ได้ที่ไม่เป็นการรบกวนผู้อื่น ดังนั้น การใช้สิทธิตามธรรมชาติของมนุษย์แต่ละคนจะมีก็แต่เพียงข้อจำกัดเฉพาะที่ต้องยอมให้สมาชิกอื่นของสังคม สามารถใช้สิทธิเหล่านี้ได้เช่นเดียวกัน ข้อจำกัดเช่นว่านี้ จะกำหนดขึ้นได้ก็แต่โดยบทกฎหมายเท่านั้น”

คำประกาศสิทธิมนุษยชน (แต่ละคน) และพลเมือง (แต่ละคน) (Déclaration des droits des l’homme et du citoyen) ลงวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๑๗๘๙ ข้อ ๖ “กฎหมาย คือ เจตนารมณ์ร่วมกันของประชาชน พลเมืองทุกคนมีสิทธิออกกฎหมายโดยตนเองเข้ามีส่วนร่วมโดยตรง หรือโดยผ่านผู้แทน กฎหมายต้องเป็นสิ่งที่เหมือนกันสำหรับทุกคน ไม่ว่าจะเป็นการคุ้มครองหรือลงโทษ พลเมืองทุกคนย่อมเสมอภาคกันตามกฎหมาย และในเกียรติยศศักดิ์ศรี ตลอดจนฐานะและตำแหน่งหน้าที่การงาน ทั้งนี้ ตามความสามารถของแต่ละคน โดยปราศจากการแบ่งแยกใดๆ ยกเว้นการแบ่งแยกด้วยความดีและความสามารถของแต่ละคน”

คำประกาศสิทธิมนุษยชน (แต่ละคน) และพลเมือง (แต่ละคน) (Déclaration des droits des l’homme et du citoyen) ลงวันที่ ๒๖ สิงหาคม ๑๗๘๙ ข้อ ๑๖ “สังคมใดไม่มีการให้หลักประกันในการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ หรือไม่มีการแบ่งแยกการใช้อำนาจอธิปไตย จะถือว่ามีรัฐธรรมนูญไม่ได้”

๔. การสร้างความเป็นธรรม ความเลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจสังคม และความพยายาม แก้ไข โดยรัฐเข้าไปคุ้มครองผู้อ่อนแอกว่า รัฐสวัสดิการ (Welfare State) ดูคำปรารภรัฐธรรมนูญสาธารณรัฐที่ ๔ ปี ๑๙๔๖

กฎหมายพื้นฐาน (Basic Law ปี 1949) ม.67 การไม่ไว้วางใจโดยสร้างสรรค์ (constructive motion of no confidence) ด้วยการเลือก นรม.ใหม่ด้วยคะแนนเกินครึ่ง

ม.68 , ม.81 รัฐบาลขอความไว้วางใจ ถ้าได้คะแนนไม่ถึงครึ่งหนึ่ง (หลัง 48 ชั่วโมง) นรม. อาจขอให้ 1. ประธานาธิบดียุบสภาได้ใน 21 วัน หรือ 2. นรม.ขอให้ประธานาธิบดีด้วยความเห็นชอบของ วุฒิสภา ประกาศภาวะฉุกเฉินทางนิติบัญญัติไม่เกิน 6 เดือน กฎหมายที่รัฐบาลประกาศว่าจำเป็นรีบด่วนไม่ผ่านสภาผู้แทนรัฐบาลเสนอเข้าวุฒิสภา ถ้าวุฒิสภาเห็นชอบก็ใช้บังคับได้

รัฐธรรมนูญฝรั่งเศส ปี 1958 ทำให้ฝ่ายบริหารเข็มแข็ง - ห้าม ส.ส. เป็น รมต. - การแยกอำนาจออกกฎหมาย กับ กฎเกณฑ์ฝ่ายบริหาร (ม.34/37) - นรม. โดยความเห็นชอบ ครม. ขอความไว้วางใจในนโยบาย หรือโครงการได้ ส.ส.ต้องเข้าชื่อกัน 1/10 เพื่อไม่ไว้วางใจและลงมติ ( 48 ชั่วโมง หลังจากนั้น)ให้นับเฉพาะผู้ที่ไม่ไว้วางใจ และจะยื่นญัตติอีกในสมัยประชุมนั้นไม่ได้

- นรม. โดยความเห็นชอบ ครม - นรม. โดยความเห็นชอบ ครม. อาจถือว่าการลงมติในร่างกฎหมายบางส่วน หรือ ทั้งฉบับ ถ้าไม่มีการยื่นญัตติไม่ไว้วางใจ หรือ ยื่นแต่ลงมติไม่ได้คะแนนเสียงเกินครึ่ง ถือว่ากฎหมาย ผ่าน

๖. รัฐธรรมนูญกับการรวมตัวระดับภูมิภาค หลังการปรับประชาคมเศรษฐกิจยุโรป (EEC) เป็นสหภาพยุโรป (EU) ก็มีการเสนอให้จัดทำรัฐธรรมนูญยุโรป (European Constitution หรือ Constitutional Treaty) ซึ่งรวมสนธิสัญญาทุกฉบับ ตั้งแต่แรกเข้าไว้ด้วยกัน โดยจัดหมวดหมู่ใหม่ เพิ่มบทบัญญัติเรื่องสิทธิเสรีภาพพื้นฐานของประชาชน และใช้หลักเสียงข้างมากเด็ดขาดแทนหลักเอกฉันท์

มีการให้สัตยาบันโดย ๑๘ ชาติ (สเปน,ลักเซมเบิร์ก ลงประชามติ) มีการลงนามโดยผู้นำ ๒๕ ชาติ เมื่อ ๒๙ ตุลาคม ๒๕๔๗ มีการให้สัตยาบันโดย ๑๘ ชาติ (สเปน,ลักเซมเบิร์ก ลงประชามติ) แต่เดือน พ.ค. ๒๕๔๘ คนฝรั่งเศสลงประชามติ ไม่รับ มิ.ย. ๒๕๔๘ คนเนเธอร์แลนด์ลงประชามติ ไม่รับ กระบวนการจึงยุติ ต่อมาจึงมีการร่าง สนธิสัญญาลิสบอน (Treaty of Lisbon) และมีผลใช้บังคับแทนรัฐธรรมนูญ ตั้งแต่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๒