การดูแลผู้ป่วยโรคปวดหลังส่วนล่าง

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PINKLAO USES FOR HANGING THE ARM & LEG 2010
Advertisements

ภาวะฉุกเฉินในผู้ป่วยมะเร็ง ที่ต้องรักษาด้วยรังสี
ค่ารักษาพยาบาล 1. เท่าที่จ่ายจริงและจำเป็น ไม่เกินวงเงิน 45,000 บาท
เรียนรู้บริหารจิตและกายให้เข้ากับโครงสร้างร่างกายของแต่ละบุคคล
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
กฎหมายทางการแพทย์ End-of-life Care
NAVY PILLOW 2012 (หมอนน้ำ ).
น้ำมันหอมระเหยเพื่อการบำบัด
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
ปวดหลังส่วนล่าง LOW BACK PAIN
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
พฤติกรรม 10 อันดับการทำร้ายกระดูก
โรคความดันโลหิตสูง จัดทำโดย 1. เด็กหญิงชุติกาญจน์ สินโสภา เลขที่ 9
Thailand Research Expo
ABC DEFG สาขาสัตว์ศาสตร์
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
Thyroid.
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การออกกำลังข้อนิ้วมือ ( six pack exercise )
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
คำแนะนำมารดาหลังคลอด
การปฏิบัติตนก่อนและหลังการผ่าตัดกระดูกสันหลัง
การปฏิบัติตนในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดACL Reconstruction
โรคเอสแอลอี.
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
การปฏิบัติตนหลังผ่าตัดเปลี่ยน
การฉีดสีเข้าช่องไขสันหลัง
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
ท่วงท่า อิริยาบถในชีวิตประจำวัน
การตรวจโครงสร้างร่างกาย แบบ
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
หลักการและเทคนิคการจัดท่า การเคลื่อนไหวและการฟื้นฟูร่างกาย
"ปฏิบัติตนอย่างไร ไม่ให้ปวดหลัง"
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
โรคไตในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ระบบกระดูก.
จุดเริ่มต้นชีวิต การปฏิสนธิ การตั้งครรภ์ การคลอด
1 ARTHRITIS ความหมาย คือ การอักเสบที่ข้อ กล่าวคือ มีอาการ ปวด บวม แดง ร้อน ที่ข้อนั้นๆ เมื่อเป็นนานเข้าจะทำให้องศาของการเคลื่อนไหวลดลง บิดเบี้ยวหรือผิดรูปจากปกติไป.
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
Diabetic Foot แผลเบาหวาน กับ การดูแล ป้องกัน
การฟื้นฟูผู้ป่วยอัมพาต
โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.
สูงวัยไม่ปวดเรื้อรัง
โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
นพ.ธีรวีร์ วีรวรรณ แพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟู ศูนย์ฯ 56 ทับเจริญ สำนักอนามัย
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
เอกสารประกอบการประชุม “โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลและป้องกันโรคไตเรื้อรังในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” รุ่งรักษ์ ภิรมย์ลาภ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
การนวดไทยแบบราชสำนัก
นิ้วหัวแม่มือกดกลางฝ่ามือ กด นับ 3 ; คลาย นับ 3 ; 5 ครั้ง
การเตรียมผู้ป่วยสูงอายุก่อนและการดูแลระหว่างการรักษาด้วยไฟฟ้า
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
รองศาสตราจารย์ ดร.สุดารัตน์ สิทธิสมบัติ
เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
สรุปประเด็นคุณภาพหน่วยงาน ในการเยี่ยมสำรวจภายใน
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง การ ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยอย่าง อื่นซึ่งรุนแรงหรือเรื้อรัง พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
การพัฒนาสติเพื่อสุขภาพ
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 กฎกระทรวง กำหนดอัตราค่ารักษาพยาบาลที่ให้นายจ้าง จ่าย พ. ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 กุมภาพันธ์ 2558.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การดูแลผู้ป่วยโรคปวดหลังส่วนล่าง ( LBP )

งานการพยาบาลผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ หอผู้ป่วยออร์โธชาย 3 งานการพยาบาลผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์

กระดูกสันหลังแบ่งเป็นช่วงต่างๆ คือ - กระดูกสันหลังส่วนคอมี 7 ชิ้น - กระดูกสันหลังส่วนอก มี 12 ชิ้น - กระดูกสันหลังส่วนเอว มี 5 ชิ้น - กระดูกสันหลังส่วนสะโพก มี 5 ชิ้น - กระดูกสันหลังส่วนกระดูกก้นกบ มี 4 ชิ้น

ภายในโพรงกระดูกสันหลัง เป็นที่อยู่ของ 1. ประสาทไขสันหลัง 2. ปมประสาท 3. รากประสาท กระดูกสันหลังแต่ละข้อจะยึดต่อกันด้วยหมอนรองกระดูก มีหมอนที่ทำให้เกิดความแข็งแรง และมีความยืดหยุ่นสามารถเคลื่อนไหวลำตัวได้หลายทิศทาง

หน้าที่ของกระดูกสันหลัง 1. รับและกระจายน้ำหนักของร่างกายท่อนบน 2. เป็นเกราะป้องกันไขประสาทและ รากประสาท 3. ช่วยในการเคลื่อนไหวอิริยาบถได้แก่ การก้ม การเงย หรือแอ่นหลัง บิดตัว

สาเหตุของอาการปวดหลัง 1. มีความผิดปกติมาตั้งแต่เกิด 2. การได้รับอุบัติเหตุบริเวณกระดูกสันหลังและสะโพก 3. โรคติดเชื้อ เช่น วัณโรคของกระดูกสันหลัง 4. เนื้องอกเช่น มะเร็งกระดูกสันหลัง 5. การเสื่อมของกระดูกสันหลังและหมอนรองกระดูก 6. กล้ามเนื้ออักเสบ 7. ความเครียดทางอารมณ์ และความวิตกกังวล 8. โรคจากอวัยวะภายใน 9. โรคชองเส้นเลือด 10. ท่าทางและอิริยาบถในชีวิตประจำวันไม่ถูกต้องร่วมกับกล้ามเนื้อ หลังอ่อนแอ

โครงสร้างของกระดูกสันหลังและเส้นเลือดที่มาเลี้ยง

การรักษาของแพทย์ 1. การใช้ยา เช่น ยาแก้ปวด ยาคลายกล้ามเนื้อ NSAID และยากล่อมประสาท 2. การทำกายภาพบำบัด เช่น การนวดกล้ามเนื้อ การใช้ความร้อน ความเย็น การดึงถ่วงน้ำหนัก 3. การนอนพัก พบว่าการนอนพักอย่างเต็มที่อยู่กับเตียง 2 วัน จะช่วยลดความดันภายในหมอนรองกระดูกลง อาการปวดจะบรรเทา 4. การบริหารกล้ามเนื้อ เพื่อให้เกิดความแข็งแรง ลดความเจ็บปวด 5. การใช้เครื่องพยุงหลัง เพื่อจำกัดการเคลื่อนไหวของกระดูกสันหลัง 6. การรักษาโดยวิธีผ่าตัดเมื่อ การรักษาดังกล่าวไม่ได้ผล หรือ เรื้อรัง และรุนแรง