คำแนะนำมารดาหลังคลอด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เพราะความเป็นห่วง.
Advertisements

ครูวันเพ็ญ กริ่งกาญจนา เรียบเรียงโดย นิพนธ์ วีระธรรมานนท์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง โภชนบัญญัติ
อาหารและโภชนาการ โรงเรียนวัดสะแกงาม นายทรงสวัสดิ์ แสงมณี
สารเคมีกำจัดศัตรูพืช
การออกกำลังกายในผู้สูงอายุ (Exercise for the Elderly)
การดูแลสุขภาพวิถีไทย(นวดตัวและกดจุดฝ่าเท้า)
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัดทางวิสัญญี (Preoperative medication)
การเจริญเติบโตของวัยรุ่น
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
ท้องผูก Constipation จัดทำโดย ด.ช.กันตภณ พลับจีน ม.1/4 เลขที่ 3
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
คำแนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาก่อนและหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
การปฏิบัติตนก่อนและหลังการผ่าตัดกระดูกสันหลัง
การขูดมดลูก การขูดมดลูก หมายถึง การใส่อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ผ่านทางช่องคลอด และ ปากมดลูกเข้าไปในโพรงมดลูก เพื่อเก็บชิ้นเนื้อส่งตรวจ.
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
หอผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์เด็ก
การปฏิบัติตัวผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนไต เมื่อกลับไปอยู่บ้าน
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
การเก็บนมไว้ในช่องแช่แข็งได้นาน 3 เดือน
ด้วย...โภชนบัญญัติ 9 ประการ
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
เบาหวาน ผลิตโดย...กลุ่มงานสุขศึกษา โรงพยาบาลยะลา.
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
ภาวะไตวาย.
โรคอุจจาระร่วง.
การปรับเปลี่ยนเพื่อส่งเสริมการให้นมแม่
การเลือกอาหารเพื่อควบคุมน้ำหนัก
ผลไม้ลดความอ้วน.
ล้างพิษได้ใน “หนึ่งวัน”
โรคกรดไหลย้อน ท้องอืดรักษาด้วย น้ำกระเพรา.
Cancer.
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
โรคเบาหวาน เบาหวาน คือภาวะที่ร่างกายมีระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ เนื่องมาจากร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลในเลือดไปใช้ได้ตามปกติ ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อที่ตับอ่อนปล่อยฮอร์โมนที่เรียกว่า.
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
โภชนาการโรคหอบ (Asthma).
บันได10 ขั้นสู่ความสำเร็จในการเลี้ยงลูก ด้วยนมแม่ ( 10 steps )
การผดุงครรภ์ไทย.
นางวิมล นวลมี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
โรคเบาหวาน ภ.
เตรียมรับมือการระบาดช่วงหน้าหนาว
ข้อห้าม ของการตัดปากมดลูก
การตรวจ มะเร็งเต้านมด้วยตนเอง.
เฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก6-12 ปีจังหวัดเลย ปี2556
กลุ่ม 5 ชื่อกลุ่ม ; วายร้าย
Tonsillits Pharynngitis
คนไทยไร้พุง งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
ทางนำไปสู่การมีสุขภาพดี
ประโยชน์ของผลไม้ไทย.
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
เบาหวาน ความรู้เรื่องโรค หลักการออกกำลังกาย การดูแลตนเอง
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
การปฏิบัติตัวและการดูแลหลังได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะระดับเล็กน้อย
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คำแนะนำมารดาหลังคลอด ตึกนิมมาน-ชุติมา 1 จัดทำโดยกรรมการสุขศึกษาตึกนิมมาน-ชุติมา1

คำแนะนำทั่วไปสำหรับมารดา 1.พักผ่อนให้มากๆ 2.ห้ามทำงานหนัก ภายหลังคลอด 2 สัปดาห์ให้ทำงานบ้านเบาๆ แล้วเพิ่มทีละน้อยจนครบ 6 สัปดาห์จึงทำงานได้ตามปกติ 3.รับประทานอาหารที่มีคุณค่าสูง เพื่อให้ร่างกายแข็งแรงและผลิตน้ำนมได้เพียงพอ

อาหารที่มารดาควรรับประทาน 1.เนื้อสัตว์ หรือถั่วต่างๆ 2. ไข่ อย่างน้อยวันละ 1 ฟอง 3.นม ดื่มวันละ 2-3 แก้ว 4.ผักทุกชนิด 5.ผลไม้ทุกชนิด 6.ดื่มน้ำมากๆอย่างน้อยวันละ 6-8 แก้ว

อาหารรสจัด ของหมักดอง ของมึนเมา ยาดองเหล้า น้ำปูเลย อาหารที่ควรงด อาหารรสจัด ของหมักดอง ของมึนเมา ยาดองเหล้า น้ำปูเลย ไม่ซื้อยาทานเอง เพราะยาบางชนิดผ่านน้ำนม และมีผลต่อเด็ก

การรักษาความสะอาด 1.อาบน้ำ สระผมได้ตามปกติ ไม่แช่ในอ่างหรือแม่น้ำลำคลอง 2.ล้างหัวนมเต้านมขณะอาบน้ำทุกครั้ง ไม่ควรฟอกสบู่ เพราะหัวนมจะแห้งแตก 3.ล้างอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกด้วยสบู่ เปลี่ยน ผ้าอนามัยทุกครั้งที่ชุ่ม

การร่วมเพศ การมีประจำเดือน ควรงดในระยะ 6 สัปดาห์แรกหลังคลอด ในรายที่ไม่ได้ให้นมบุตร ประจำเดือนครั้งแรกจะมาภายใน 6 สัปดาห์ ในรายที่ให้นมบุตร อาจมาช้ากว่านี้

ควรปรึกษาสามีเกี่ยวกับจำนวนบุตรที่ต้องการ การวางแผนครอบครัว ควรปรึกษาสามีเกี่ยวกับจำนวนบุตรที่ต้องการ การคุมกำเนิดมีหลายวิธี ควรปรึกษาแพทย์ถึงวิธีที่เหมาะสม

ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นและวิธีการแก้ไข อาการคัดตึงเต้านม เกิดได้ 2 ระยะ ระยะแรกเป็นระยะที่มีน้ำเหลืองคั่ง ยังไม่มีน้ำนมจริง เต้านมจะขยายใหญ่ แข็งตึง ปวด และอาจมีไข้ต่ำๆ การแก้ไข:ประคบเต้านมโดยน้ำอุ่นและเย็นสลับกันถ้าปวดมากทานยาแก้ปวดตามคำสั่งแพทย์ ระยะที่สอง:เป็นระยะที่ต่อมน้ำนมทำงานเต็มที่ เกิดอาการคั่งของ น้ำนมจริง อาการคัดตึงจะไม่ทรมานเท่าระยะแรก แก้ไขโดยให้ทารกดูดและบีบน้ำนมทิ้งหลังทารกอิ่ม

อาการท้องผูกควรป้องกันและแก้ไขโดยดื่มน้ำมากๆวันละ 8-10 แก้ว อาการปวดมดลูก:จะปวดเป็นพักๆเนื่องจากการหดรัดตัวและคลายตัวของมดลูก บรรเทาได้โดยนอนคว่ำใช้หมอนรองใต้ท้องน้อยรับประทานยาแก้ปวดตามแพทย์สั่ง อาการท้องผูกควรป้องกันและแก้ไขโดยดื่มน้ำมากๆวันละ 8-10 แก้ว รับประทานอาหารที่มีกากเช่นผัก ผลไม้ ออกกำลังอย่างสม่ำเสมอ น้ำคาวปลา เกิดจากแผลที่รกลอกตัวในโพรงมดลูก ปกติสีจะจางลง และไหลน้อยลงจะหมดไปเมื่อครบ 2 สัปดาห์ บางคนอาจนานกว่านี้ แต่ไม่ควรเกิน 4 สัปดาห์