การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

Knowledge Management (KM)
การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ครั้งที่ 1 (Care & Share Meeting No
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
มัทธิว 7 : 7 จงขอเถิด แล้วท่านจะได้รับ จง แสวงหา เถิด แล้วท่านจะพบ
การจัดการองค์ความรู้ และประสบการณ์คณะแพทยศาสตร์
ปทิตตา มีชิตสม นักวิชาการพัฒนาชุมชนชำนาญการ
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
การจัดการความรู้...สู่ คณะศึกษาศาสตร์ ม.บูรพา
บทที่ 3 ระดับของสารสนเทศ.
บทบาทของนักวิจัยไทย ต่อ
การจัดการความรู้ (KNOWLEDGE MANAGEMENT: KM)
1. นางสาวฉันทนา คงแก้ว เลขที่ 9
KM = Knowledge Management
การจัดการความรู้ (Knowledge Management)
“แนวปฏิบัติจัดการความรู้” (The Practices of Knowledge Management)
กิจกรรมถอดสกัดความรู้
แบบประเมินระดับความสำเร็จของการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
KM การจัดการความรู้ พยาบาล ดร. ยุวดี เกตสัมพันธ์
บทเรียนบาง ประการ จาก ประสบการณ์ การส่งเสริมการ เรียนรู้ และจัดการ ความรู้
มีหน้าที่เชื่อมโยงผู้คน/หน่วยงานเข้าหากัน
(Knowledge Management : A Tool for Strategic Success)
“Knowledge Management in Health Care”
Knowledge Management (KM)
การจัดการความรู้ KM คืออะไร?
การบรรยาย หัวข้อ “KM : เครื่องมือพัฒนาทีมงาน และองค์การ”
การจัดการความรู้เพื่อยกระดับมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
สามารถ ศรีวิริยาภรณ์ ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการสหกรณ์ที่ 7
Workshop การจัดการความรู้
เรียนรู้ จาก VDO ของ KMI
(Knowledge Management : KM)
ถอดรหัส Nanoka : ภาวะผู้นำและการประเมินแนวใหม่
บทที่ 12 การเปลี่ยนแปลง และการพัฒนาองค์การ.
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Communities of Practice (CoP)
โครงการประชุมสัมมนาฝึกสอน/ฝึกงานกึ่งภาคเรียน (มัชฌิมนิเทศ)
การจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยรังสิต
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
เครื่องมือสำหรับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Gotoknow.org
วิทยาศาสตร์ในสังคมกับการจัดการความรู้
สถานการณ์การจัดการความรู้ของกรมส่งเสริมการเกษตร  เริ่มดำเนินการตั้งแต่ปี 2547 ภายใต้คำรับรองการปฏิบัติราชการ มีแนวทางการดำเนินงาน  ปี 2548 ต่อยอดของเดิม.
รวบรวม /ปรับปรุง/เสริมแต่ง
ปัจจัยแห่ง ความสำเร็จ ประสบการณ์ จริง แหล่งข้อมูล ประกอบด้วย 3 ส่วน.
กลุ่มที่ 6 ที่ปรึกษา: คุณปิย์วรา ตั้งน้อย ประธาน: คุณธวัลรัตน์ แดงหาญ
การเรียนรู้ของทีม Team Learning
แนวทางดำเนินงานจัดการความรู้ในงานส่งเสริมการเกษตร ให้ประสบผลสำเร็จ
การจัดการความรู้ ศูนย์นิติวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มช.
โมเดลปลาทู “คุณเอื้อ” “คุณกิจ” “คุณอำนวย” CKO Knowledge Sharing (KS)
เทคนิคการจัดการความรู้ ทางอิเล็กทรอนิกส์
รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน
การจัดการ ความรู้ กองแผนงาน. 1. ทีมงาน KM ซึ่งแต่งตั้งในปี 2549 เป็น แกนนำหลักในการดำเนินการเพื่อความต่อเนื่อง 2. ประเมินผลการดำเนินการในปี 2549 และนำเสนอผลการประเมินเพื่อหารือในที่
Learning Organization & Knowledge Management
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินการ จัดการความรู้ใน หน่วยงาน.
การจัดการความรู้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพขององค์กร
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง
การดักจับความรู้ด้วยเครื่องมือ “AAR”
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การถอดบทเรียน กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
การสังเคราะห์ (synthesis)
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีวศึกษา ภาคตะวันออก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาทักษะการจดบันทึก เพื่อต่อยอดความรู้สู่การปฏิบัติ

การจัดการความรู้คืออะไร การจัดการความรู้ หรือ KM (KM = Knowledge Management) คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ในองค์กร ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนใน องค์กรสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กร มีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด

สร้างคนที่มีความรู้ใหม่ สร้างวิธีการเรียนรู้ใหม่ สร้างองค์ความรู้ใหม่ ทำ KM เพื่ออะไร ? สร้างคนที่มีความรู้ใหม่ สร้างวิธีการเรียนรู้ใหม่ สร้างองค์ความรู้ใหม่

ประเภทของความรู้ ความรู้มี 2 ประเภท คือ 1.) ความรู้ซ่อนเร้น/ความรู้ฝังลึก (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่แฝงอยู่ในตัวบุคคล เป็นพรสวรรค์ เป็นประสบการณ์ที่สั่งสมมายาวนาน เป็นภูมิปัญญา

2.) ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่อยู่ในรูปแบบที่เป็นเอกสาร หรือ วิชาการ อยู่ในตำรา คู่มือปฏิบัติงาน ผลการศึกษา

KS KA KV Model “ปลาทู” Knowledge Assets Knowledge Vision Knowledge Sharing ส่วนกลางลำตัว ส่วนที่เป็น “หัวใจ” ให้ความสำคัญกับการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ช่วยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน (Share & Learn) Model “ปลาทู” ใส่ฟืน “คุณอำนวย” Knowledge Facilitator จุดไฟ KS KA KV “คุณเอื้อ” Chief Knowledge Officer : CKO Knowledge Assets ส่วนหาง สร้างคลังความรู้ เชื่อมโยงเครือข่าย ประยุกต์ใช้ ICT “สะบัดหาง” สร้างพลังจาก CoPs Knowledge Vision ส่วนหัว ส่วนตา มองว่ากำลังจะไปทางไหน ต้องตอบได้ว่า “ทำ KM ไปเพื่ออะไร” ยืนพัด Knowledge Practitioner “คุณกิจ”

Tuna Model (Thai-UNAids Model) เป็นการมองประเด็นของการจัดการความรู้อย่างง่าย ๆ โดยแบ่งได้เป็น 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ Knowledge Vision (KV) เป็นส่วนที่ต้องตอบให้ได้ว่าทำการจัดการความรู้ไปเพื่ออะไร Knowledge Sharing (KS) เป็นส่วนที่สำคัญมากเพราะทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านเวทีจริง และเวทีเสมือนเช่นผ่นเครือข่าย Internet Knowledge Assets (KA) เป็นส่วนขุมความรู้ที่ทำให้มีการนำความรู้ไปใช้งานและมีการต่อยอดยกระดับขึ้นไปเรื่อย ๆ ดร. ประพนธ์ ผาสุขยึด

เครื่องมือ ที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

Dialogue Dialogue (สุนทรียสนทนา) หมายถึง การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความรู้ ความคิดเห็น ซึ่งไม่ใช่กระบวนการที่คุณทำให้แก่คนอื่น แต่เป็นกระบวนการที่คุณทำร่วมกับคนอื่น

Success Story Telling เป็นการเล่าเรื่องที่ทำแล้วประสบความสำเร็จ ด้วยวิธีการเล่าเรื่อง CAR ดังนี้ C : Context เหตุการณ์ วัน เวลา สถานที่ที่เกิดเหตุการณ์ A : Action เทคนิค หรือ วิธีการที่ทำให้ประสบความสำเร็จ R : Result ผลลัพธ์ เช่น ความสุขใจ การได้รับคำชื่นชม ฯลฯ สรุปและนำเสนอ “Key Success Factor : KSF (ปัจจัยแห่งความสำเร็จ) หรือประเด็นความรู้ที่ได้” จากเรื่องเล่า

เป็นการเล่าเหตุการณ์และการใช้เทคนิคที่ทำแล้ว ประสบความสำเร็จ KM Café เป็นการเล่าเหตุการณ์และการใช้เทคนิคที่ทำแล้ว ประสบความสำเร็จ

บทบาทของบุคคล ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

KM Manager คุณเอื้อ หรือ คุณเอื้อระบบ ทำหน้าที่จัดการระบบของ การจัดการความรู้ขององค์กร

หน้าที่คุณเอื้อ (KM Manager) ในภาพของผู้นำองค์กร CEO จัดกระบวนการให้เกิด “ธงร่วม” (Shared Vision / Common Goal) คอยให้ “รางวัล” เมื่อมีการดำเนินการที่จะนำไปสู่ผลสำเร็จหรือเกิดผลสำเร็จเล็กๆ มีการ “จับภาพ KM” ในภาพรวม เพื่อให้องค์กรเห็นภาพร่วมกันว่าทำ KM เพื่ออะไร ส่งเสริมให้ออกไปเรียนรู้และนำเสนอผลงานต่อองค์กรภายนอก

หน้าที่คุณเอื้อ KM Manager ในภาพของเจ้าของโครงการ / ผู้รับผิดชอบกิจกรรม กำหนดประเด็นความรู้ อำนวยความสะดวกในทุกด้าน โดยเฉพาะ 4M’s สร้างบรรยากาศให้เอื้อต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

คุณอำนวย (Facilitator) ทำหน้าที่ช่วยเหลือให้การแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีความราบรื่น สร้างบรรยากาศ ความคิดเชิงบวก ซักถามด้วยความชื่นชม ทำให้สมาชิกกลุ่มทุกคนได้หมุนเวียน กันเล่าเรื่องครบทุกคน โดยการตั้งคำถาม “ทำไมถึงทำเช่นนั้น” “คิดอย่างไรจึงทำเช่นนั้น” คอยกระตุ้นให้สมาชิกกลุ่มช่วยกัน “สกัด” หรือ “ถอด” ให้ “ความรู้เชิงปฏิบัติ” ถูกปลดปล่อยออกมา

คุณกิจ (Knowledge Practitioner) ผู้ที่ปฏิบัติงานอยู่ที่หน้างาน ปฏิบัติงานเนียนอยู่ในเนื้องาน เป็นผู้ที่เรียนรู้ตลอดชีวิต  เรียนรู้จากการปฏิบัติ เป็นคนที่มีความ มั่นใจที่จะคิด ไตร่ตรองให้รอบคอบ แล้วทดลองทำสิ่งใหม่ๆ อย่าง ระมัดระวังอยู่ตลอดเวลา

คุณกิจ (ผู้แลกเปลี่ยนเรียนรู้) คุณกิจ (ผู้แลกเปลี่ยนเรียนรู้) เล่าเพียงประเด็นเดียวต่อ 1 เรื่อง และเล่าสั้น ๆ เล่าตามความ เป็นจริง เล่าให้เห็นตัวคน เห็นพฤติกรรมหรือการกระทำ เห็นความคิดหรือ ความเชื่อที่อยู่เบื้องหลัง เล่าให้เห็นความสัมพันธ์ที่อยู่ในเรื่อง เห็นภาพพจน์ เห็นสภาพแวดล้อมและบริบทของเรื่อง และให้สมาชิกกลุ่มผลัดกันตีความ เพื่อดึง “ความรู้เพื่อการบรรลุหัวปลา” ออกมา

Note Taker คุณลิขิต (Note taker) คือ ผู้ที่จดบันทึกความรู้ หรือสกัดความรู้ ในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อนำไปสร้าง ฐานความรู้(Knowledge Base) หรือ คลัง/ขุมความรู้ (Knowledge Asset Database)

การบันทึกแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่ ● สรุปประเด็นสำคัญและสร้างแผนที่ทางความคิด (Mind Mapping) ● บันทึกคำพูดแบบเต็มรูปแบบของประโยคที่เป็น ใจความสำคัญ (Key Word) ● บันทึกรายละเอียดทุกคำพูดแบบเต็มรูปแบบ (Full Script) และบันทึกปฏิกิริยาของผู้ให้สัมภาษณ์ โดยใช้การถอดเทป

ทักษะที่จำเป็นของ Note Taker มีทักษะการฟังที่ดี มีความรู้ด้านเนื้อหาและศัพท์เทคนิค สามารถจดบันทึกได้อย่างรวดเร็ว มีสมาธิและการจดบันทึก

Model การ “สกัด” ความรู้ 1 Model การ “สกัด” ความรู้ KSF : A 2 3 1 สังเคราะห์ KSF : B ตกผลึกเป็นองค์ความรู้ เผยแพร่และ ลงสู่ภาคปฏิบัติ 2 3 1 4 ยุบรวม KSF ที่เหมือนกันเข้าด้วยกัน 2 KSF เขียนขึ้นมาใหม่โดยให้มีความครอบคลุมมากยิ่งขึ้น 3 KSF : C 1 4 จัดลำดับความสำคัญโดยดูจากค่าความถี่ 2

ขอบคุณค่ะ