ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อสอบ o-Net คลื่นกล.
Advertisements

การเคลื่อนที่.
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
ลองคิดดู 1 มวล m1 และมวล m2 วิ่งเข้าชนกันแล้วสะท้อนกลับทางเดิม ความเร่งหลังชนของมวล m1 และ m2 เท่ากับ 5 m/s2 และ 2 m/s2 ตามลำดับ ถ้า m1 มีมวล 4 kg มวล.
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
หินแปร (Metamorphic rocks)
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
การศึกษาเกี่ยวกับแรง ซึ่งเป็นสาเหตุการเคลื่อนที่ของวัตถุ
(Structure of the Earth)
การเคลื่อนที่ของวัตถุเกร็ง
ตัวอย่าง วัตถุก้อนหนึ่ง เคลื่อนที่แนวตรงจาก A ไป B และ C ตามลำดับ ดังรูป 4 m A B 3 m 1 อัตราเร็วเฉลี่ยช่วง A ไป B เป็นเท่าใด.
เพราะฉะนั้น ในแต่ละลำดับขั้นของระบบชีวิตจะมีปฏิสัมพันธ์เกี่ยวกับ
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
6 คลื่นเสียง อัตราเร็วเสียง ความเข้มเสียง
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
แผ่นดินไหว.
ปัจจัยทีมีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ข้อสอบ O-Net การเคลื่อนที่แนวตรง.
รายงาน เรื่อง การเกิดแผ่นดินไหว นาย สุรัชชัย สายโอภาส ม. 5/3
Basic wave theory.
Ultrasonic sensor.
ไมโครโฟน (Microphone)
1 บทที่ 7 สมบัติของสสาร. 2 ตัวอย่าง ความยาวด้านของลูกบาศก์อลูมิเนียม มีค่าเท่าใด เมื่อน้ำหนักอลูมิเนียมมีค่าเท่ากับ น้ำหนักของทอง กำหนดความหนาแน่น อลูมิเนียม.
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก
(Global Positioning System)
ดวงอาทิตย์ The Sun.
ตัวอย่างปัญหาการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
บทที่ 7 การทดสอบแรงอัด Compression Test
กรมชลประทานได้รับผลกระทบจาก แผ่นดินไหววันที่ 26 ธ.ค. 47 อย่างไร
ผลกระทบของแผ่นดินไหวที่มีต่อเขื่อน ในประเทศญี่ปุ่น
คุณครูโชคชัย บุตรครุธ
ไต้หวัน 20 กันยายน 2542, M 7.6, Chelongpu Fault.
และคุณสมบัติอุปกรณ์การสร้างฉาก โดย อาจารย์ ศิริมงคล นาฏยกุล
เครื่องเคาะสัญญาณ.
สัณฐานและโครงสร้างของโลก
ความหมายและชนิดของคลื่น
คลื่นผิวน้ำ.
สถานการณ์โรคที่เฝ้าระวังและ สถานการณ์ที่สำคัญ มิถุนายน 2551 กลุ่มระบาดวิทยา สคร.6 ขอนแก่น.
เลื่อยมือ hack saw.
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
กาแล็กซีและเอกภพ.
ส่วนวิศวกรรมธรณี สำนักสำรวจด้านวิศวกรรมและธรณีวิทยา
โครงการออกแบบวางผังแม่บท มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 คลื่นหรรษา ตอนที่ 2 อ.ดิลก อุทะนุต.
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
เหตุการณ์แผ่นดินไหว ขนาด 6
ภาพจากการสะท้อนแสงของวัตถุ
ซ่อมเสียง.
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ดินถล่ม.
การระเบิด Explosions.
วิทยาศาสตร์ ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยครูศรีไพร แตงอ่อน.
เทคโนโลยีไร้สาย Department of Informatics, Phuket Rajabhat University. THAILAND.
จัดทำโดย เด็กหญิง วรรณิสาห์ มาโสด เสนอ อ. ดลหทัย อินทรจันทร์
หน่วยที่ 7 การกวัดแกว่ง
ชนิดของคลื่น ฟังก์ชันคลื่น ความเร็วของคลื่น กำลัง, ความเข้มของคลื่น
ดาวศุกร์ (Venus).
ดาวพลูโต (Pluto).
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 เอกภพและโลก( 3)
ดาวเนปจูน (Neptune).
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
เรื่อง ระบบบอกตำแหน่ง (GPS)
Fracture system. โดยธรรมชาติ รอยแตก (fracture) เกิดขึ้น เนื่องจาก tension หรือ shear stress ใน หินที่แตกหักง่ายไม่มีความยืดหยุ่น ความ รุนแรงของการแตกขึ้นอยู่กับความรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram ความรู้บางอย่างเกี่ยวกับ ขนาดและคลื่นแผ่นดินไหว Magnitude and Seismogram โดย : ดร.ธนู หาญพัฒนพานิชย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านที่ปรึกษาวิศวกรรมธรณี กรมชลประทาน กุมภาพันธ์ 2549

ความหมายของขนาดแผ่นดินไหว Magnitude มาตรา Richter : ใช้ได้เฉพาะแผ่นดินไหวขนาดเล็กกว่า 7.0 จุดศูนย์กลางต้องอยู่ในรัศมีไม่เกิน 650 กิโลเมตร การรายงาน USGS กำหนดให้เจ้าหน้าที่ของ USGS บอกถึงขนาดแผ่นดินไหวว่า “แผ่นดินไหวมีขนาด 6.0” ไม่ต้องใส่มาตรา 1

2

3

พลังทำลายของแผ่นดินไหวอยู่ที่ไหน ทฤษฎี Elastic rebound : พลังงานสะสมจากการเคลื่อนตัวของมวลหินในรูปของ Strain energy เมื่อสูงมากกว่า strength ของหิน จะทำให้หินฉีกขาดปลดปล่อยพลังงานในรูปของการสั่นสะเทือน, ความร้อน และอื่น ๆ แบบทันทีทันใด ส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปของการสั่นสะเทือนแผ่นดินไหว พลังงานที่ปลดปล่อยมาสามารถประมาณจากความสัมพันธ์ของ Gutenberg และ Richter 1956 Log E = 11.8 + 1.5 Ms E มีหน่วยเป็น ergs (1 erg = 7.5x10-8ft-lb) Ms คือ Surface Wave Magnitude เทียบกับแรงระเบิด M = 6.0 ขนาดเท่าระเบิดที่ Hiroshima M = 9.5 ขนาด 178,000 เท่าของระเบิดที่ Hiroshima 4

กราฟแสดงความสัมพันธ์ของขนาดแผ่นดินไหวกับพลังงานที่ปลดปล่อย 5

องค์ประกอบที่ควบคุมลักษณะของคลื่นแผ่นดินไหว (1) 1.ขนาดของแผ่นดินไหว 6

องค์ประกอบที่ควบคุมลักษณะของคลื่นแผ่นดินไหว (2) 2. ระยะห่างจากจุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว 7

คุณสมบัติของคลื่นแผ่นดินไหว คลื่นจากแผ่นดินไหวที่วัดได้ สามารถแสดงในรูปของ 1. อัตราเร่ง 2. ความเร็ว 3. การเคลื่อนที่ ให้สังเกตความแตกต่างของคลื่นแผ่นดินไหวเดียวกันบนชั้นหิน - ชั้นดิน โดยเทียบกับบันทึกเวลาของการเกิดคลื่น กราฟแสดงบันทึกค่าอัตราเร่ง/ ความเร็ว/ การเคลื่อนที่ต่อเวลาของแผ่นดินไหว (ซ้ายมือ-วัดที่ผิวหิน ขวามือ-วัดที่ผิวดิน) 8

ค่าอัตราเร่งสูงสุด หมายถึง ค่าอัตราเร่งสูงสุดที่เกิดขึ้นบนคลื่นแผ่นดินไหว โดยทั่วไปค่าอัตราเร่งสูงสุดจะสูงกว่า เมื่อขนาดแผ่นดินไหวใหญ่กว่า แต่แผ่นดินไหวขนาดแตกต่างกัน อาจมีค่าอัตราเร่งสูงสุดเท่ากันหรือน้อยกว่าก็ได้ 9

องค์ประกอบด้านความถี่ (Frequency Content) ของคลื่นแผ่นดินไหว เป็นการอธิบายถึงความสัมพันธ์ของขนาดคลื่น (Amplitude) กับความถี่ที่ต่างกัน หรือคาบเวลา (period) ที่ต่างกัน ช่วง Amplitude สูงที่เกิดในเฉพาะช่วงความถี่แคบ (คาบเวลาแคบ) จะมีผลรุนแรงเฉพาะในช่วงคาบเวลาหรือความถี่นั้น ๆ ช่วง Amplitude สูงที่เกิดเป็นช่วงความถี่กว้าง (คาบเวลากว้าง) จะมีผลรุนแรงได้ในหลาย ๆ ช่วงคาบเวลาหรือช่วงความถี่ 10

Response Spectra เป็นการอธิบายผลตอบสนองสูงสุดของการเคลื่อนที่ของมวลภายใต้แรงสั่นสะเทือนแบบทิศทางเดียว (SDOF) ที่ความถี่หรือคาบเวลาต่างกัน จะเห็นว่า การเกิดความเร่งสูงสุด – ความเร็วสูงสุด – การเคลื่อนที่สูงสุด จะเกิดที่คาบเวลาหรือความถี่ที่แตกต่างกัน 11

Duration หมายถึง ช่วงระยะเวลาของการสั่น สัมพันธ์กับการปลดปล่อยพลังงานออกมา ซึ่งจะไม่เท่ากัน เช่น กำหนดค่าอัตราเร่งสูงสุดได้  0.05g ช่วงระยะเวลาที่ได้รับการสั่นสะเทือนด้วยอัตราเร่งเกินกว่าที่กำหนด (Bracketed duration) ในชั้นหินและชั้นดินจะแตกต่างกัน 12

ความสัมพันธ์ของ Bracket duration ที่ค่า g 0 13

คิดเทียบเป็นจำนวนรอบของ stress และ harmonic (Equivalent Uniform Stress Cycles) โดยคิดจากแรงดันน้ำในดินที่เกิดจากจำนวนรอบของการเฉือนแบบ dynamic ด้วย harmonic stress มีขนาด (Amplitude) เท่ากับ 65% ของ maximum shear stress ของดิน 14

ผลกระทบจากแผ่นดินไหว 9.2 สุมาตรา 26 ธันวาคม 2547 ผลกระทบจากแผ่นดินไหว 9.2 สุมาตรา 26 ธันวาคม 2547 ความรู้ คลื่นแผ่นดินไหว ประกอบด้วย ความถี่สูง (High frequency) = คาบสั้น (Short period) และ คลื่นความถี่ต่ำ (Low frequency) = คาบยาว (long period) คุณสมบัติของคลื่น ความถี่สูงไปได้ไม่ไกล สลายตัวเร็ว ความถี่ต่ำไปได้ไกล สลายตัวช้า ผลกระทบของแผ่นดินไหว 26 ธันวาคม 2547 จึงเกิดจากคลื่นความถี่ต่ำ แต่ความรู้สึกของมนุษย์ที่รับรู้ต่อคลื่นความถี่ต่ำ มีสูง 15

ความรับรู้ของมนุษย์ตาม Modified Mercalli Scale 16

ค่าอัตราเร่งพื้นดินในแนวราบ (Horizontal PGA) ที่วัดได้และคำนวณได้ 17

THANK YOU