การวิเคราะห์อาหารสัตว์ วิชาญ แก้วเลื่อน นักวิทยาศาสตร์ kaewluan.w@hotmail.com สำนักงานไร่ฝึกทดลองและห้องปฏิบัติการ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ที่มา : สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน อาหารสัตว์ วัตถุต่าง ๆ ที่มีสารอาหารเป็นประโยชน์ใน การบำรุงร่างกายและไม่เป็นพิษต่อสัตว์ เช่น รำ ปลายข้าว เมล็ดข้าวโพด ปลาป่น กากถั่วต่าง ๆ มันสำปะหลัง ตลอดจน หญ้าและพืชในวงศ์ถั่วบางชนิด เรานำเอาวัสดุพลอยได้จากอาหารมนุษย์เหล่านี้มาผสมเข้าด้วยกันตามสัดส่วนที่ต้องการ ให้เป็นอาหารผสมสำเร็จรูปสำหรับเลี้ยงสัตว์ ที่มา : สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน
กากถั่วเหลือง (Soybean) ภาพ : กาญจนา บันสิทธิ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ข้าวโพด (Corn) ภาพ : กาญจนา บันสิทธิ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ปลาป่น (Fish meal) ภาพ : กาญจนา บันสิทธิ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ปลายข้าว (Broken Rice) ภาพ : กาญจนา บันสิทธิ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
มันสำปะหลัง (Cassava) ภาพ : กาญจนา บันสิทธิ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
รำละเอียด (Rice bran) ภาพ : กาญจนา บันสิทธิ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
กระดูกป่น (Bone meal) (Oyster Shell) ไดแคลเซียมฟอสเฟต (CaHPO4) เปลือกหอยป่น (Oyster Shell) ไดแคลเซียมฟอสเฟต (CaHPO4) ภาพ : กาญจนา บันสิทธิ์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ทำไมต้องวิเคราะห์อาหารสัตว์ ? วิเคราะห์เพื่ออะไร ?
เพราะเหตุอย่างนี้ อย่างนี้ ได้ทราบถึงคุณภาพของอาหารที่นำมาใช้เลี้ยงสัตว์ ได้การเลือกใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพดี ตรงตามมาตรฐาน ได้อาหารที่มีคุณภาพเหมาะสมกับราคาที่ซื้อ ทำให้สัตว์ได้รับสารอาหารตามความต้องการของร่างกาย เป็นการลดต้นทุนในการผลิตสัตว์
การวิเคราะห์อาหารสัตว์ การตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบอาหารสัตว์ 1. การใช้ประสาทสัมผัส 2. การใช้แว่นขยายและกล้องจุลทรรศน์ 3. การทดสอบด้วยน้ำยาเคมีอย่างง่าย ๆ 4. การวิเคราะห์หาส่วนประกอบทางเคมี
การวิเคราะห์อาหารสัตว์ การตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบอาหารสัตว์ 1. การใช้ประสาทสัมผัส 2. การใช้แว่นขยายและกล้องจุลทรรศน์ กล้องจุลทรรศน์มีอยู่ 2 ประเภท คือ-- กล้องจุลทรรศน์กำลังขยายต่ำ (Stereroscopic microscopy) มีกำลังขยาย 7-40 เท่า กล้องจุลทรรศน์กำลังขยายสูง (Compound microscopy) มีกำลังขยาย 100-400 เท่า
3. การทดสอบด้วยน้ำยาเคมีอย่างง่าย ๆ (Quick Test) เพื่อดูการเกิดปฏิกิริยาของวัตถุดิบกับสารเคมีที่ใช้ทดสอบ ทำให้สามารถแยกแยะสิ่งเจือปน หรือคุณภาพของวัตถุดิบได้ 4. การวิเคราะห์หาส่วนประกอบทางเคมี (Proximate Analysis) เป็นวิธีวิเคราะห์อย่างคร่าว ๆ หรือหยาบ ๆ ได้แก่ การวิเคราะห์ หา ความชื้น โปรตีน ไขมัน เยื่อใยหรือกาก และเถ้า
ปริมาณโภชนะของวัตถุดิบโดยทั่วไป คาร์โบไฮเดรต รวม ชื่อวัตถุดิบ %ความชื้น %เถ้า %โปรตีน %ไขมัน %เยื่อใย % แป้ง+น้ำตาล ข้าวโพด 9.7 1.4 8.4 4.1 1.8 74.6 100 กากถั่วเหลือง 8.2 4.7 41 3.5 6.7 35.9 รำละเอียด 12 18.0 7.1 46.3 ปลาป่น 8.3 28 51 8.0 1.2 ปลายข้าว 10 0.5 7.0 80.8 มันสำปะหลัง 2.5 0.4 2.2 82.4 รำหยาบ 7.4 18 5.5 1.7 31 36.4
สิ่งที่จำเป็นต้องการทดสอบ ชนิดและการตรวจวิเคราะห์วัตถุดิบอาหารสัตว์ วัตถุดิบ สิ่งที่จำเป็นต้องการทดสอบ ปลาป่น สิ่งปลอมปน โปรตีน แคลเซียม ฟอสฟอรัส ความชื้น กากถั่วเหลือง สิ่งปลอมปน ความสุก-ดิบ โปรตีน เถ้า รำละเอียด สิ่งปลอมปน โปรตีน ความชื้น ข้าวโพดเมล็ด ความชื้น เมล็ดแตก เมล็ดเสีย โปรตีน สารพิษอะฟลาทอกซิล ที่มา : สุกัญญา (2539)
ตัวอย่างการทดสอบเบื้องต้นทางเคมีสำหรับ วัตถุดิบอาหารสัตว์ (Quick Test)
อ้างอิง โครงการค่ายเกษตรสำหรับเยาวชน ประจำปี 2550. เอกสารประกอบการฝึกอบรม. สำนักงานไร่ฝึกทดลองและห้องปฏิบัติการกลาง คณะเกษตรศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. หน้า 102-121. ชาญชัย มณีดุล. สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ เล่มที่ 14. อาหารสัตว์. สุกัญญา จตุรพรพงษ์. 2539. การตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบอาหารสัตว์. เรียบเรียง ครั้งที่ 2. ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมการเลี้ยงสุกรแห่งชาติ จังหวัดนครปฐม.
ขอบคุณครับ ที่ตั้งใจฟัง