Sharing Communication Lines

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
A Batteryless RFID Remote Control System
Advertisements

ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
ระบบบัส I2C I2C Bus System.
กิจกรรมที่ 4 ข้อมูล จุดประสงค์
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
Research Problem ปัญหาการวิจัย
Theory of Firm.
อุปกรณ์สื่อสารในระบบเครือข่าย เครือข่ายคอมพิวเตอร์ การสื่อสารข้อมูล
โครงการ(Project) ระบบเฝ้าระวังเครื่องแม่ข่าย
Multiplexing and Network Multiplexing
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
ซอฟต์แวร์.
การพัฒนากิจกรรม การเรียนรู้ โดยโครงงาน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ISDN (Integrated Services Digital Network)
( wavelength division mux)
อุปกรณ์ X.25 และระบบโปรโตคอล ขอความกรุณาอย่าสงสัย OK
WIMAX มาทำความรู้จักกับ wimax กันดีกว่า Wimax คืออะไร หน้าที่ของwimax
บทที่ 3 ในการเชื่อมต่อเครือข่าย
Digital Data Communication Technique
Memory Internal Memory and External Memory
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
ฟังก์ชันของ PHP ฟังก์ชันคือ โปรแกรมย่อยที่สามารถประมวลผล และ คืนผลลัพธ์จาการประมวลผลนั้นสู่โปรแกรมหลักได้ ซึ่งจำเป็นในการเขียนโปรแกรมเพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น.
โดย อ.ปริญญา น้อยดอนไพร V
อาจารย์ ถนอม ห่อวงศ์สกุล
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
ปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
4/4/2017 การสื่อสารข้อมูล เทคโนโลยีเพื่อการส่งสัญญานข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยมีองค์ประกอบพื้นฐาน 4 อย่าง คอมพิวเตอร์ หรือ หน่วยรับข้อมูล หรือ.
รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายแบ่งตามกลุ่มผู้ใช้
ข้อมูลพื้นฐานและตัวดำเนินการ
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
บทที่ 5 แผนภูมิควบคุมสำหรับคุณลักษณะ
โครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลเชิงกายภาพ
Company LOGO Key Board.
ค่านิยมของสำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์
การสื่อสารข้อมูล Data Communication Chapter 10 วชิรธรรมสาธิต
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
เรื่องข้อมูลและสาระสนเทศ
ที่ใช้ใน Object-Oriented Design
รูปร่างเครือข่าย อาจารย์วันวิสาข์ บุญพ่วง วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Geographic Information System
หมวดเครื่องใช้ไฟฟ้า : ลำโพง รายวิชา วิทยาศาสตร์
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
ระบบ RFID บนทางด่วน RFID systems on the highway
การเบิกจ่ายเงินรางวัล ประจำปีงบประมาณ 2555
ADSL คืออะไร.
บทที่ 8 การมัลติเพล็กซ์สัญญาณ
บทที่ 9 การจัดการข้อมูล การตรวจสอบความผิดพลาดในการส่งข้อมูล
อาจารย์จังหวัด ศรีสลับ เสนอ จัดทำ โดย แผนก คอมพิวเตอร์ ธุรกิจ นางสาวสุวรรณ รัตน์ ดำรัส นางสาวศศิธร ดำเกิงพันธุ์
IP ADDRESS.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
Input / Output ธนวัฒน์ แซ่เอียบ.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
ด. ช. พงศกร ภูมิ โคกรักษ์ ม.2/5 เลขที่ 32 โรงเรียนจักรคำ คณาทร.
บทที่ 8 การวิจัยเชิงพรรณนา : การสำรวจ
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 การจัดการโครงการ Project Management ญาลดา พรประเสริฐ.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
แบบดาว เป็นลักษณะของการต่อเครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทางของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้น ใน โทโปโลยี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Sharing Communication Lines คือการร่วมกันใช้สายในการรับหรือส่งสัญญาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งข้อมูล ให้เต็มประสิทธิภาพที่สายจะให้ได้

Sharing Communication Lines ต.ย. การรับส่งข้อมูลแบบ Point to Point จะไม่มีประสิทธิภาพเพราะเวลาของ Terminal ส่วนใหญ่หมดไปกับการป้อนข้อมูล

Sharing Communication Lines ต.ย. อัตราการส่งของสาย 9600 bps ใน 30 นาที จะส่งข้อมูลได้ 1800 x 9600 = 17,280,000 bit การส่งข้อมูลโดย keyboard จาก terminal 30 นาที ได้ประมาณ 4000 ตัวอักษร ฉะนั้นจึงได้อัตราการใช้สาย (4000 x 8) / 17,280,000 = 0.0018

Sharing Communication Lines ดังที่แสดงตัวอย่างไปแล้วจะเห็นว่าอัตราการใช้สายของ Terminal จะมีประสิทธิภาพต่ำมากจึงมีการปรับปรุงเพื่อให้มีประสิทธิภาพในการส่งข้อมูลได้ดีขึ้นดังภาพ

Sharing Communication Lines การแบ่งความสามารถในการส่งข้อมูลมี 2 รูปแบบ - Static Allocation - Dynamic Allocation

Sharing Communication Lines Static Allocation เป็นการแบ่งความสามารถในการส่งข้อมูลให้แก่ terminal ด้วยสัดส่วนคงที่แน่นอน และเมื่อ Terminal ใดไม่ใช้สิทธิในการส่งจะไม่สามารถโอนสิทธิในการส่งให้แก่ Terminal อื่นได้ตัวอย่างกันใช้สายร่วมกันแบบ Static Allocation คือ - Frequency Division Multiplexing - Time Division Multiplexing

Sharing Communication Lines Dynamic Allocation จะแบ่งความสามารถในการส่งข้อมูลเมื่อได้ร้องขอจาก Terminal เท่านั้นโดยมีลักษณะการแบ่งความสามารถในการส่งได้หลายลักษณะเช่น - Multidrop Line - Statistical TDM

Sharing Communication Lines Sharing Lines Technique สำหรับเทคนิคที่ใช้สายร่วมกันระหว่าง Terminal แบ่งตามชนิดของการส่งข้อมูลในสายได้เป็น 2 วิธีคือ - Multidrop Lines - Multiplexing

Sharing Communication Lines Sharing Lines Technique Multidrop Lines (Dynamic Allocation) ลักษณะการเชื่อมต่อแบบ Multidrop Lines นั้นจะอาศัยสายโดยมีตัว Terminal เชื่อมต่ออยู่หลาย Terminal ปัญหาของ Multidrop Lines คือ Contention ถ้าเกิดขึ้นจะไม่สามารถส่งข้อมูลในสายส่งได้เลยจึงต้องมีวิธีการ Control การส่งข้อมูลและมีวิธีการ Control 2 วิธี 1. Polling 2. Selecting

Sharing Communication Lines Sharing Lines Technique Multidrop Lines(Dynamic Allocation) 1. Polling เป็นวิธีที่คอมพิวเตอร์จะส่ง Polling Message ไปถาม Terminal ต่างๆว่ามีข้อมูลต้องการส่งหรือไม่ ถ้ามี มันจะส่งข้อมูลออกมา ถ้าไม่มีTerminal จะตอบปฏิเสธต่อ Polling Message นั้นๆ

Sharing Communication Lines Sharing Lines Technique Multidrop Lines(Dynamic Allocation) 2. Selecting เป็นวิธีการที่คอมพิวเตอร์จะส่ง Selecting Message ไปถาม Terminal ต่างๆว่าพร้อมที่จะรับข้อมูลแล้วหรือไม่ หากพร้อมจะส่ง Acknowledge กลับ หากไม่พร้อมจะปฏิเสธข้อมูลที่จะส่งมา

Sharing Communication Lines Sharing Lines Technique Multiplexing คือการรวบรวมข้อมูลในแต่ละ Terminal เข้าด้วยกันแล้วส่งเข้าสายพร้อมๆกันซึ่งปกติการส่งข้อมูลใน Terminal นั้นจะเป็นแบบ Asynchronous Terminal ซึ่งอุปกรณ์ในการ Multiplexing เรียกว่า Multiplexer

Sharing Communication Lines Sharing Lines Technique Multiplexing (Static Allocation) เทคนิคในการแบ่งความสามารถในการส่งข้อมูลให้แก่ Terminal จะทำได้ 2 วิธี คือ - FDM(Frequency Division Multiplexing) - TDM(Time Division Multiplexing)

Sharing Communication Lines Sharing Lines Technique Multiplexing FDM(Frequency Division Multiplexing) จะอาศัยการแบ่งช่องสัญญานเป็นสัญญานย่อยๆหลายช่องสัญญานโดยในแต่ละช่องสัญญานย่อยจะจ่ายให้แก่ Terminal แต่ละ Terminal จะต้องส่งภายในความถี่ที่ได้รับนี้เท่านั้น

Sharing Communication Lines Sharing Lines Technique Multiplexing TDM (Time Division Multiplexing) จะเป็นการแบ่งเวลาในการใช้สายเพื่อใช้ส่งข้อมูลให้แก่แต่ละ Terminal โดยข้อมูลจะถูกสลับหมุนเวียนส่งลงไปในสายส่งแล้วรวบรวมขึ้นเป็น Frame แล้วส่งออกไปซึ่งมีการใช้ TDM ใน 2 ลักษณะคือ 1. Character Interleaving 2. Bit Interleaving

1. Character Interleaving

1. Character Interleaving

2. Bit Interleaving

Sharing Communication Lines Sharing Lines Technique Multiplexing TDM ต่อ (การส่งแบบ Synchronous) การส่งข้อมูลของ Multiplexer จะมากกว่าหรือเท่ากับอัตราการส่งของ Terminal ทุกตัวแต่การส่งจะมี Over head ติดไปด้วย ซึ่งเมื่อ Demultiplex แล้วจะทำให้ การ Synchronous ผิดพลาดจึงจำเป็นต้องให้ Terminal ตัวใดตัวหนึ่งทำการส่งให้ช้าลงกว่าปกติเพื่อให้การ Synchronous ทำได้ถูกต้องเรียกขบวนการนี้ว่า Supspeed

Sharing Communication Lines Sharing Lines Technique Multiplexing TDM ต่อ (การส่งแบบ Asynchronous) การส่งข้อมูลจะต้องมี Start bit และ Stop bit ซึ่ง Multiplexer จะถอดบิตเริ่ม และ บิตจบ ออกก่อนแล้วจึงรวมข้อมูลเป็น Frame แล้วจึงส่งไปในสายแบบ Synchronous เมื่อ Demultiplex อุปกรณ์ Multiplexer จะทำการใส่ Start bit และ Stop bit ให้แก่อุปกรณ์ฝั่งรับอีกครั้งหนึ่ง

Sharing Communication Lines Sharing Lines Technique Multiplexing(Dynamic Allocation) - STDM(Statistical Time Division Multiplexing) พัฒนาเพื่อลบจุดด้อยในแบบ TDM จะมีการส่งข้อมูลให้แก่ Terminal ที่มาร้องขอเท่านั้นโดยเฉลี่ยการใช้สายเพื่อส่งข้อมูลให้แก่ Terminal ต่างๆ เมื่อไม่มีการใช้สายแล้วก็จะเฉลี่ยการใช้สายให้แก่ Terminal ตัวอื่นๆ อาจเรียก STDM อีกอย่างหนึ่งว่า STAT MUX