มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สาระที่ 1 จานวนและการดาเนินการ
Advertisements

เลขยกกำลัง.
การบวกและลบเอกนาม สิ่งที่นักเรียนควรรู้ เอกนามจะบวกหรือลบกันได้ก็ต่อเมื่อเป็นเอกนามที่คล้ายกัน ผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน = ผลบวกของสัมประสิทธิ์ x.
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 20
ชื่อสมบัติของการเท่ากัน
การแก้สมการที่เกี่ยวกับ เลขยกกำลัง
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น โดย ครูภรเลิศ เนตรสว่าง โรงเรียนเทพศิรินทร์
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและลอการิทึม
การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวัน (จำนวนเต็มบวก) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 นางพรเรียง ก๋งแก้ว สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนสัตหีบวิทยาคม.
Power Series Fundamentals of AMCS.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
อสมการ.
ความหมายเซต การเขียนเซต ลักษณะของเซต.
การประยุกต์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
อนุกรมกำลัง (power series)
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
รายวิชา ง23101 การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
มิสกมลฉัตร อู่ศิริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
เรื่อง การบวก การลบ การคูณ และการหาร นายประยุทธ เขื่อนแก้ว
เทคนิคการอินทิเกรต การหาปริพันธ์โดยแยกเศษส่วนย่อย
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
BY PRATIPA GEENASON MATTAYOM 4/1 CODE 15
A.5 Solving Equations การแก้สมการ.
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
อสมการ (Inequalities)
สมการกำลังสอง นางพัชรีย์ ลันดา ผู้สร้าง กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ระบบจำนวนเต็ม โดย นางสาวบุณฑริกา สูนานนท์
ครูฉัตร์มงคล สนพลาย.
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ประโยคเปิดและตัวบ่งปริมาณ
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
ค31211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 1
การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
การแยกตัวประกอบพหุนาม
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
ทฤษฎีบททวินาม (Binomial Theorem)
เครื่องหมายและการดำเนินการ ในภาษา C
การหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลัง
ชุดฝึกแทนค่าตัวแปรในนิพจน์พีชคณิต
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
ค21201 คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1
ตัวดำเนินการ และนิพจน์คณิตศาสตร์
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
เรื่อง เลขยกกำลัง อัตรส่วนและร้อยละ
วงรี ( Ellipse).
นางสาวสุพรรษา ธรรมสโรช
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
บทที่ 3 เลขยกกำลัง เนื้อหา ความหมายของเลขยกกำลัง
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
สื่อการสอนด้วยโปรมแกรม “Microsoft Multipoint”
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ครูบุษบา กล้าขยัน - พหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
เศษส่วนของพหุนาม การทำให้อยู่ในรูปเศษส่วนอย่างต่ำ
การคูณและการหารเอกนาม
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
หลักการทั่วไปเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
การบวกและลบเอกนาม สิ่งที่นักเรียนควรรู้ เอกนามจะบวกหรือลบกันได้ก็ต่อเมื่อเป็นเอกนามที่คล้ายกัน ผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน = ผลบวกของสัมประสิทธิ์ x.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ พหุนาม โดย มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

เอกนามตัวแปรเดียว axn เอกนาม คือ นิพจน์ที่สามารถเขียนให้อยู่ในรูปการคูณกันของค่าคงตัว กับตัวแปรตั้งแต่สองตัวขึ้นไปโดยเลขชี้กำลังของตัวแปรทุกตัว เป็นจำนวนเต็มบวกหรือศูนย์เท่านั้น รูปทั่วไปของเอกนาม เอกนามตัวแปรเดียว axn a เป็นค่าคงตัว(จำนวนใดๆ)เรียกว่า สัมประสิทธิ์ของเอกนาม x เป็นตัวแปร n เป็นจำนวนเต็มบวกหรือศูนย์ เรียกว่า ดีกรีของเอกนาม

2) เอกนามหลายตัวแปร axm yn a เป็นค่าคงตัว(จำนวนใดๆ) เรียกว่า 1) เอกนามตัวแปรเดียว axn 2) เอกนามหลายตัวแปร axm yn a เป็นค่าคงตัว(จำนวนใดๆ) เรียกว่า สัมประสิทธิ์ของเอกนาม x, y เป็นตัวแปร m , n เป็นจำนวนเต็มบวกหรือศูนย์ (ค่าของ m + n เรียกว่า ดีกรีของเอกนาม)

ตัวอย่าง ที่ไม่ใช่เอกนาม ตัวอย่าง เอกนาม 0.74 , 9 , -5, b3 , a2 , 2x2 , 3xyz3 ตัวอย่าง ที่ไม่ใช่เอกนาม , 5y-1 , , x + 4y

ดีกรีของเอกนาม คือ ผลบวกของเลขชี้กำลังของตัวแปรทั้งหมด ในเอกนามนั้น ดีกรีของเอกนาม คือ ผลบวกของเลขชี้กำลังของตัวแปรทั้งหมด ในเอกนามนั้น 5x2 เป็นเอกนาม มีสัมประสิทธิ์ คือ 5 ดีกรี 2 -8x2y3 เป็นเอกนาม มีสัมประสิทธิ์ คือ -8 ดีกรี 5 3) ไม่เป็นเอกนาม เพราะเลขชี้กำลังของ y เป็น -3 4) 2x2 + 3y ไม่เป็นเอกนามเพราะ ไม่สามารถเขียนในรูปการคูณ 5) 3 ไม่เป็นเอกนาม เพราะ เลขชี้กำลังของ x ไม่เป็นจำนวนเต็มบวก

เช่น 1) 3x + 5x = (3+5)x 2) 3x2y – 5x2y = (3-5)x2y = -2x2y 1. การบวก การลบ เอกนาม เช่น 1) 3x + 5x = (3+5)x 2) 3x2y – 5x2y = (3-5)x2y = -2x2y เอกนาม ที่จะบวก หรือ ลบกันได้จะต้องเป็นเอกนามคล้าย 2. เอกนามคล้าย เอกนามคล้าย คือ เอกนามที่มีสมบัติดังนี้ 1) มีตัวแปรชุดเดียวกัน 2) เลขชี้กำลังของตัวแปรที่เหมือนกันต้องเท่ากัน

3. การบวก และการลบเอกนาม ผลบวกของเอกนามที่คล้ายกัน= (ผลบวกของสัมประสิทธิ์)x(ตัวแปรที่อยู่ในรูปการคูณ) 1. 3x4 + 5x4 = ( 3 + 5 ) x4 = 8 x4 2. - 6x3y + 8x3y - x3y = ( - 6 + 8 - 1 ) x3y = x3y 3. 4ax2 + (- 6ax2) = ( 4 - 6 )ax2 = - 2ax2 ผลลบของเอกนามที่คล้ายกัน= (ผลลบของสัมประสิทธิ์)x(ตัวแปรที่อยู่ในรูปการคูณ) 1. 5x3 - 3x3 = ( 5 - 3 )x3 = - 2x3 2. 7x2y – (- 4x2y) = ( 7 + 4 ) x2y = 11x2y 3. -3a2 - 5a2 = ( -3 - 5 ) a2 = -8 a2

4. พหุนาม พหุนาม คือ นิพจน์ที่สามารถเขียนในรูปเอกนาม หรือการบวกของเอกนามตั้งแต่สองเอกนามขึ้นไป ตัวอย่าง -4 , 2x , 3a + b , x2 – 3x + 2 พหุนามในรูปผลสำเร็จ คือ พหุนามที่ไม่มีเอกนามคล้ายกัน ดีกรีของพหุนาม คือ ดีกรีของเอกนามที่มีดีกรีสูงสุดในพหุนาม ในรูปผลสำเร็จ 1. 5x2 - 4y3-2x2+y3 = (5x2 -2x2 ) +(- 4y3+y3) = 3x2 - 3y3 พหุนามในรูปผลสำเร็จ คือ 3x2 - 3y3 ดีกรีของพหุนาม คือ 3

5. การบวก และการลบพหุนาม 5. การบวก และการลบพหุนาม การหาผลบวกหรือผลลบของพหุนาม ใช้หลักการบวกเอกนามที่คล้ายกัน มี 2 วิธี 1. การบวก การลบ แนวนอน 2. การบวก การ ลบ แนวตั้ง ตัวอย่าง จงหาผลบวกของพหุนามต่อไปนี้ 3xy - 5 กับ -2xy + 3x + 7 ( 3xy - 5 ) + ( -2xy + 3x + 7 ) = (3xy – 2xy) + 3x + (- 5+7) = xy + 3x + 2 2) 2x2 - 3x กับ - x2 +5x – 3 กับ x + 4 (2x2 - 3x)+(-x2+5x–3)+(x+4) = ( 2x2 - x2 )+(- 3x + 5x + x)+(– 3+4) = x2 + 3x + 1

ตัวอย่าง จงหาผลลบของพหุนามต่อไปนี้ ตัวอย่าง จงหาผลลบของพหุนามต่อไปนี้ 1. 3r2s + 4 กับ 2r2s + rs - 2 (3r2s + 4) – (2r2s+rs – 2) = (3r2s - 2r2s) - rs +(4 –(-2)) = r2s - rs + 6 2. 5x2 + 3x – 5y + 2 กับ -2x2 + 2x - y (5x2+3x–5y+2)-(-2x2+2x-y) = (5x2+3x–5y+2)+(2x2 - 2x +y) = (5x2+2x2)+(3x-2x)+(–5y+ y)+2 = 7x2 + x – 4y + 2

การหาผลบวกผลลบของพหุนามโดยการตั้งบวก - ตั้งลบ หลักการ 1. ตั้งพหุนามตัวตั้ง 2. เขียนพหุนามตัวบวก / ตัวลบให้เอกนามคล้ายกันตรงกันกับตัวตั้ง 3. หาผลบวก / ผลลบระหว่างเอกนามคล้ายกันจะได้ผลบวกหรือผลลบตามต้องการ ตัวอย่าง จงหาผลบวกของพหุนาม 4x2y + 3xy2 – 2y3 กับ - 2x2y + 7y3 วิธีทำ 4x2y + 3xy2 – 2y3 - 2x2y + 7y3 ขั้นที่ 1 เขียนพหุนามตัวตั้ง + ขั้นที่ 2 ตั้งเอกนามคล้ายกันให้ตรงกัน 2x2y + 3xy2 + 5y3 ขั้นที่ 3 หาผลบวกของพหุนาม ตัวอย่าง จงหาผลลบของพหุนาม 3xy4 -3x2y3+4x3y2 -5 กับ -2xy4 - 2x2y3 - 3x3y2 + x4 3xy4 - 3x2y3 + 4x3y2 - 5 -2xy4 - 2x2y3 - 3x3y2 + x4 - + + + - 5xy4 - x2y3 + 7x3y2 - x4 - 5