บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชา ฟิสิกส์ เรื่อง คลื่น ระดับช่วงชั้นที่ 4
Advertisements

ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
8.4 Stoke’s Theorem.
8.2 Ampere’s Law “อินทริกรัลเชิงเส้นของสนามแม่เหล็กรอบเส้นทางปิดใดๆมีค่าเท่ากับกระแสที่ผ่านเส้นทางปิดนั้น” สำหรับสนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสเส้นตรงยาวอนันต์
คอยล์ ( coil ) สมพล พัทจารี วิศวกรรมไฟฟ้า.
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
Section 3.2 Simple Harmonic Oscillator
X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
9.7 Magnetic boundary conditions
5.9 Capacitance พิจารณาแผ่นตัวนำที่มีประจุอยู่และแผ่นตัวนำดังกล่าววางอยู่ในสาร dielectric ค่าควรจุของตัวเก็บประจุคือการนำเอาประจุที่เก็บสะสมหารกับความต่างศักย์ระหว่างสองแผ่นตัวนำ.
8. ไฟฟ้า.
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
การวิเคราะห์ข้อสอบ o-net
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
ENCODER.
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
จำนวนชั่วโมงในการบรรยาย 1 ชั่วโมง
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
พฤติกรรมพลวัตมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
สื่อการสอนเรื่องแรงบนตัวนำ
การจำลองการทำงานของมอเตอร์ Mono Pole Motor
อุปกรณ์ขับเคลื่อนแบบหมุน
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
หม้อแปลง.
การแปรผกผัน ( Inverse variation )
การแปรผันตรง (Direct variation)
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
สัปดาห์ที่ 6 วงจรไฟฟ้าสามเฟส Three-Phase Circuits (Part II)
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
Electrical Circuit Analysis 2
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
หน่วยที่ 6 วงจร TUNE.
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
Magnetic Particle Testing
สายสัมพันธ์ไฟฟ้า-แม่เหล็ก
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
Stepper motor.
DC motor.
สนามแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ วงจรไฟฟ้า LC ค่า RMS หมายความว่าอย่างไร
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า พื้นฐานของการแปรสภาพระหว่างพลังงานกลกับพลังงานไฟฟ้า โดยเฉพาะการแปรสภาพที่จะได้พลังงานกลออกมา

4.1 กระบวนการแปรสภาพพลังงาน

4.2 พลังงานที่สะสมในสนามแม่เหล็ก

4.3 อุปกรณ์ที่มีการกระตุ้นข้างเดียว

ตัวอย่างที่ 4.1 จงแสดงค่าแรงทางไฟฟ้า (Fe) ที่จะเกิดขึ้นระหว่างส่วนของวงจรแม่เหล็กดังในรูปที่ 4.4 เมื่อพิจารณาให้ ฟลักซ์คล้องเป็นตัวแปรอิสระ

การเลือกกระแส และระยะของการเคลื่อนที่เป็นตัวแปรอิสระ

ตัวอย่างที่ 4.2 จงหาค่าแรงทางไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในวงจรแม่เหล็กดังรูปที่ 4.4 โดยให้ค่ากระแสไฟฟ้า และตำแหน่ง x เป็นตัวแปรอิสระ

ตัวอย่างที่ 4. 3 จากวงจรแม่เหล็กในรูปที่ 3 ตัวอย่างที่ 4.3 จากวงจรแม่เหล็กในรูปที่ 3.5 ถ้าแกนของขดลวดเท่ากับ 6x6 cm2 ขดลวดมีอยู่จำนวน 300 รอบ และขดลวดมีความต้านทานเป็น 6 โอห์ม เมื่อไม่คิดค่าความต้านทานวงจรแม่เหล็กของแกน และผลของ fringing effect (a) เมื่อระยะ x อยู่ที่ 5 มม. และแหล่งจ่ายเป็นไฟฟ้ากระแสตรง 120 V ต่ออยู่กับขดลวด จงหาค่าพลังงานที่สะสมในวงจรแม่เหล็ก และแรงทางไฟฟ้าที่เกิดขึ้น (b) เมื่อระยะ x อยู่ที่ 5 มม. และแหล่งจ่ายเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ 120 Vrms 60 Hz จงหาค่าแรงเฉลี่ยที่เกิดขึ้น (a)

4.4 ระบบที่มีการกระตุ้นสองทาง

ตัวอย่างที่ 4.4 จงแสดงสมการแรงบิดทางไฟฟ้าในเทอมของ i1 i2 และ  จากอุปกรณ์ที่มีการหมุนในรูปที่ 3.8 ซึ่งเป็นลักษณะของอุปกรณ์ที่มีโรเตอร์ไม่เรียบ

4.5 บทสรุป การเกิดแรงนี้จะขึ้นอยู่กับการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าทั้งทางเดียว และสองทาง ปริมาณของกระแสไฟฟ้าที่ใส่เข้าไป ระยะห่างของส่วนของอุปกรณ์ สารแม่เหล็กที่เป็นทางเดินให้กับฟลักซ์แม่เหล็ก อุปกรณ์ที่มีการกระตุ้นสองทาง มุมระหว่างแนวสนามแม่เหล็กทั้งสอง นอกจากนี้จะมีส่วนของโรเตอร์ไม่เรียบจะมี Reluctance Torque