บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า พื้นฐานของการแปรสภาพระหว่างพลังงานกลกับพลังงานไฟฟ้า โดยเฉพาะการแปรสภาพที่จะได้พลังงานกลออกมา
4.1 กระบวนการแปรสภาพพลังงาน
4.2 พลังงานที่สะสมในสนามแม่เหล็ก
4.3 อุปกรณ์ที่มีการกระตุ้นข้างเดียว
ตัวอย่างที่ 4.1 จงแสดงค่าแรงทางไฟฟ้า (Fe) ที่จะเกิดขึ้นระหว่างส่วนของวงจรแม่เหล็กดังในรูปที่ 4.4 เมื่อพิจารณาให้ ฟลักซ์คล้องเป็นตัวแปรอิสระ
การเลือกกระแส และระยะของการเคลื่อนที่เป็นตัวแปรอิสระ
ตัวอย่างที่ 4.2 จงหาค่าแรงทางไฟฟ้าที่เกิดขึ้นในวงจรแม่เหล็กดังรูปที่ 4.4 โดยให้ค่ากระแสไฟฟ้า และตำแหน่ง x เป็นตัวแปรอิสระ
ตัวอย่างที่ 4. 3 จากวงจรแม่เหล็กในรูปที่ 3 ตัวอย่างที่ 4.3 จากวงจรแม่เหล็กในรูปที่ 3.5 ถ้าแกนของขดลวดเท่ากับ 6x6 cm2 ขดลวดมีอยู่จำนวน 300 รอบ และขดลวดมีความต้านทานเป็น 6 โอห์ม เมื่อไม่คิดค่าความต้านทานวงจรแม่เหล็กของแกน และผลของ fringing effect (a) เมื่อระยะ x อยู่ที่ 5 มม. และแหล่งจ่ายเป็นไฟฟ้ากระแสตรง 120 V ต่ออยู่กับขดลวด จงหาค่าพลังงานที่สะสมในวงจรแม่เหล็ก และแรงทางไฟฟ้าที่เกิดขึ้น (b) เมื่อระยะ x อยู่ที่ 5 มม. และแหล่งจ่ายเป็นไฟฟ้ากระแสสลับ 120 Vrms 60 Hz จงหาค่าแรงเฉลี่ยที่เกิดขึ้น (a)
4.4 ระบบที่มีการกระตุ้นสองทาง
ตัวอย่างที่ 4.4 จงแสดงสมการแรงบิดทางไฟฟ้าในเทอมของ i1 i2 และ จากอุปกรณ์ที่มีการหมุนในรูปที่ 3.8 ซึ่งเป็นลักษณะของอุปกรณ์ที่มีโรเตอร์ไม่เรียบ
4.5 บทสรุป การเกิดแรงนี้จะขึ้นอยู่กับการกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าทั้งทางเดียว และสองทาง ปริมาณของกระแสไฟฟ้าที่ใส่เข้าไป ระยะห่างของส่วนของอุปกรณ์ สารแม่เหล็กที่เป็นทางเดินให้กับฟลักซ์แม่เหล็ก อุปกรณ์ที่มีการกระตุ้นสองทาง มุมระหว่างแนวสนามแม่เหล็กทั้งสอง นอกจากนี้จะมีส่วนของโรเตอร์ไม่เรียบจะมี Reluctance Torque