แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
Advertisements

ให้พบแพทย์ทันที กลุ่มเสี่ยงต่อโรครุนแรง ได้แก่เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ผู้สูงอายุมากกว่า 65 ปี หญิงมีครรภ์ ผู้ป่วยที่มีโรคประจำตัวเรื้อรัง เช่นโรคปอด หอบหืด.
NAVY PILLOW 2012 (หมอนน้ำ ).
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเอดส์
เคล็ดลับรักษาสิวตัวเรา
หลักสำคัญในการล้างมือ
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
โรคที่เกิดจากสารเคมีที่เป็นพิษในอาหาร
โรคนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ
เอกสารประกอบการเรียน วิชา พ.21102
โรคท้องเสีย จัดทำโดย ด.ญ.จุฬารัตน์ น้อยจาด เลขที่ 7 ม.1/4
โรคพยาธิ จัดทำโดย โรคพยาธิ ด.ช.พัสกร มะลิแก้ว เลขที่26
โรคอาหารเป็นพิษ เสนอ อ. สุมน คณานิตย์ จัดทำโดย
หอผู้ป่วยทารกแรกเกิด 2
การปฏิบัติตัวขณะได้รับยาเคมีบำบัด โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
ยินดีต้อนรับ สู่..ตึกโรคปอด.
หอผู้ป่วย อายุรกรรม หญิง 3.
แผนการสอนเรื่องปอดอักเสบ
คำแนะนำผู้ป่วย โรคนิ่วในถุงน้ำดี หอผู้ป่วยพิเศษ 2.
งานสุขศึกษา หอผู้ป่วยกุมาร 3
จัดทำโดย… นาง สุรินทร์ สามใจ ผู้ช่วยพยาบาลหน่วยรับ- ส่ง
โรคเอสแอลอี.
การผ่าตัดก้อนถุงน้ำที่มือ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว หรือ…..ลิวคีเมีย จัดทำโดย น.ส. สุดารัตน์ เมืองเจริญ
แผนการสอนระยะสั้น เรื่อง การดูแลผู้ป่วยเด็กที่มีภาวะนิวโทรฟีเนีย
ผู้ป่วยเม็ดเลือดขาวต่ำ
โรคนิวคาสเซิล (Newcastle disease : ND)
โรคอหิวาต์เป็ด ไก่ (Fowl cholera)
โรคบิด/โรคคอคซิดิโอซิส (Coccidiosis)
กลุ่มอาการท้องเสียในลูกโค (Calf scour)
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
สัมนาทางชีววิทยา เสนอ อาจารย์ ดอเล๊าะ ดาลี จัดทำโดย
โรคคอตีบ (Diphtheria)
แบบบันทึกประกอบการวินิจฉัยและการรักษา โรคท้องร่วงเฉียบพลัน
แนวทางการใช้ยาปฏิชีวนะอย่าง สมเหตุผลในโรคติดเชื้อทางเดิน
Tuberculosis วัณโรค.
ข้อพึงปฏิบัติเพื่อ ป้องกันตนเอง จากไข้หวัดสายพันธ์ใหม่ 2009 กิน ร้ อ น ช้อน กลา ง ล้าง มื อ.
บทที่ 9 โรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ
ภาวะตัวเหลืองในทารกแรกเกิด
สถานการณ์ โรคเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
โรคอุจจาระร่วง.
โดย โรงพยาบาลร้องกวาง
โรคมือปากเท้าเปื่อย (Hand foot mouth syndrome)
โรคอุบัติใหม่ – อุบัติซ้ำ (Emerging Disease – Re-Emerging Disease)
ของภาชนะสัมผัสอาหาร และมือ
การใช้สารเคมี สมาคมอารักขาพืชไทย ได้ถือกำเนิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ ใช้ชื่อในขณะนั้นว่า “ สมาคม ผู้ประกอบธุรกิจสารเคมีกำจัดศัตรูพืช : ส.ธ.ก. ( Thai Pesticide.
โภชนาการโรคถุงลมโป่งพองเรื้อรัง
คำแนะนำเรื่อง โรค มือ เท้า ปาก สำหรับผู้ปกครอง.
โรคติดเชื้อไวรัสไข้หวัดใหญ่
ความคงตัวของยาฉีดหลังผสม / วิธีบริหารยา และสารละลายเจือจางที่เหมาะสม
โครงการ ส่งเสริมการใช้ยาต้านจุลชีพ โรงพยาบาลศรีสังวรสุโขทัย
Wound healing with Whirlpool Whirlpool
ว่านหางจระเข้ ฟ้าทะลายโจร เสลดพังพอน
Tonsillits Pharynngitis
Nipah virus.
การดูแลสุขภาพกาย กลุ่มงานระบาดวิทยา.
อย่า ! ให้คนที่รักต้องจากไปเพราะ...
วัณโรค อยู่ใกล้ตัวคุณ...แค่นี้เอง.
นิ่วในถุงน้ำดี งานสุขศึกษา โรงพยาบาลพะเยา.
โรคกระเพาะอาหาร.
โรคกระเพาะอาหาร Gastritis.
ไข้หวัดใหญ่ (Flu 2009) ปัจจุบัน การระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธ์ใหม่ 2009 กำลังแพร่ระบาดไปทั่วประเทศ และพบผู้เสียชีวิต จากโรคดังกล่าวจำนวนหนึ่ง การระบาดภายในประเทศระยะแรก.
ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือบ่อยๆ...
โรงพยาบาลวังม่วงสัทธรรม
สุขวิทยาส่วนบุคคล ของผู้สัมผัสอาหาร
โรคเบาหวาน เป็นชื่อของกลุ่มอาการของโรค ที่ร่างกายไม่สามารถใช้น้ำตาลได้
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ Antibiotics smart use แนวทางการใช้ยาปฎิชีวนะ

Antibiotics smart use โรคติดเชื้อเฉียบพลันทางเดินหายใจส่วนบน โรคท้องร่วงเฉียบพลัน บาดแผล

โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน สาเหตุการติดเชื้อ 80% จากไวรัส 20% จากแบคทีเรีย กรณีที่ไม่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ อาการดังนี้ ไม่มีไข้ ไม่เจ็บคอ มีน้ำมูกมาก จามบ่อย เสียงแหบ ตาแดง มีผื่นตามตัว โดยตรวจไม่พบอาการโรคปอดอักเสบ แผลในปาก ถ่ายเหลว ไข้สูง > 38๐c ร่วมกับอาการข้างต้น หมายถึง ติดเชื้อไวรัส ไม่จำเป็นต้องให้ยาฆ่าเชื้อ ส่วนใหญ่จึงไม่ต้องใช้ยาฆ่าเชื้อ

โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน กรณีที่ควรใช้ยาปฏิชีวนะ: คอหอยและทอนซิลอักเสบ ไข้สูง เจ็บคอมาก มีจุดขาวที่ทอนซิล ต่อมน้ำเหลืองใต้คอโต ลิ้นไก่บวมแดง มีจุดเลือดออกที่เพดานปาก ยาที่ควรใช้: penicillin V, amoxicillin, roxithromycin 10 วัน

โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน กรณีที่อาจให้ยาปฏิชีวนะ: หูชั้นกลางอักเสบ ไซนัสอักเสบ มีไข้ ปวดหู โดยเฉพาะหลังจากเป็นหวัด หมายถึงติดเชื้อในหูชั้นกลาง การติดเชื้อในหูชั้นกลางมักดีขึ้นใน 72 ชั่วโมง เพราะฉะนั้น ใน3วันแรกจึงไม่จำเป็นต้องให้ยา แต่หากพ้น3วันแล้วอาการไม่ดีขึ้นจึงทานยาฆ่าเชื้อ

โรคติดเชื้อทางเดินหายใจส่วนบน ไซนัสอักเสบที่มีอาการต่อเนื่องนานเกิน 7 วัน จึงค่อยทานยาฆ่าเชื้อ ยาที่ใช้ : amoxicillin, erythromycin นาน 5วันในหูชั้นกลางอักเสบ และ นาน 7 วันในไซนัสอักเสบ

ขนาดและวิธีให้ยาฆ่าเชื้อ Penicillin V ผู้ใหญ่ 500 มก. วันละ 2-3 ครั้ง เด็ก 25-50 มก./กก./วัน วันละ 2-3 ครั้ง Amoxicillin ผู้ใหญ่ 500 มก. วันละ 3 ครั้ง เด็ก 25-50 มก./กก./วัน วันละ 3 ครั้ง หากเป็นไซนัสอักเสบให้ 80-90 มก./กก./วัน วันละ 2-3 ครั้ง

ขนาดและวิธีให้ยาฆ่าเชื้อ Erythromycin เด็ก 5-8 มก./กก./วัน วันละ 2 ครั้ง

ข้อควรรู้ การมีน้ำมูกหรือเสมหะข้น หรือสีเขียวเหลืองไม่ได้บ่งชี้ว่าต้องทานยาฆ่าเชื้อ อาการไข้สูงเพียงอย่างเดียวไม่ใช่ข้อบ่งชี้ว่าต้องทานยาฆ่าเชื้อ เพราะอาจเป็นโรคอื่นได้ เช่น ไข้หวัดใหญ่ ไข้เลือดออก

โรคท้องร่วงเฉียบพลัน โรคท้องร่วง หมายถึง การถ่ายอุจจาระเหลวจำนวนอย่างน้อย 3 ครั้งหรือถ่ายมีมูกปนเลือดหรือเป็นน้ำ อย่างน้อย 1 ครั้ง ผู้ป่วยที่มีอาเจียนเป็นอาการเด่นมักหมายถึงอาหารเป็นพิษ ไม่ไช่ติดเชื้อจึงไม่ต้องใช้ยาฆ่าเชื้อ

โรคท้องร่วงเฉียบพลัน การให้ยาฆ่าเชื้อควรให้เฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการร่วมดังนี้ ไข้สูง > 38๐c อุจจาระเป็นมูกหรือมีเลือดปนเห็นได้ด้วยตาเปล่า หรือ ตรวจพบWBC,RBCในอุจจาระ ยาฆ่าเชื้อที่ควรใช้คือ norfloxacin ผู้ใหญ่ 400 มก. วันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน เด็ก 15-20 มก./กก./วัน แบ่งวันละ 2 ครั้ง นาน 5 วัน (หากเป็นเด็กที่ต่ำกว่า 5 ปี ให้ตามแพทย์เสมอ)

ข้อควรรู้ เป้าหมายสำคัญที่สุดในการรักษาไม่ใช่ยาฆ่าเชื้อ แต่เป็นการให้สารน้ำและเกลือแร่ทดแทนที่สูญเสียไปกับอุจจาระ ยาบางตัวไม่แนะนำให้ใช้ในกรณีท้องร่วง ได้แก่ buscopan, imodium, lomotil เป็นต้น การให้ activated charcoal หรือ ultracarbon สามารถให้ได้ ไม่เป็นพิษ ราคาถูกและช่วยลดความกังวลใจแก่ผู้ป่วย โดยทาน 1-2 เม็ด วันละ 2-4 ครั้ง

บาดแผล แผลที่ยังไม่ติดเชื้อ คือ บาดแผลที่มาถึงรพ.ภายใน6ชั่วโมง แผลสะอาด หมายถึง บาดแผลเปิดที่มีขอบเรียบสามารถล้างทำความสะอาดง่าย ไม่มีเนื้อตาย บาดแผลที่มีสิ่งสกปรกติดอยู่ แต่ล้างออกได้ง่าย แผลที่ไม่ได้เปื้อนสิ่งแปลกปลอมที่ติดเชื้อสูง เช่น น้ำคลอง ดิน มูลสัตว์ เป็นต้น

บาดแผล บาดแผลที่มีโอกาสติดเชื้อสูง บาดแผลที่ถูกวัตถุทิ่มเป็นรูยากแก่การทำความสะอาดได้ทั่วถึง บาดแผลที่มีเนื้อตายเป็นบริเวณกว้าง บาดแผลที่มีสิ่งสกปรกติดอยู่ ที่ล้างได้ไม่หมด บาดแผลที่สัมผัสเชื้อโรคมาก เช่น ดิน น้ำคลอง เหล็กมีสนิม มูลสัตว์ เป็นต้น บาดแผลจากการบดอัด แผลที่เท้า แผลขอบไม่เรียบ แผลผู้ป่วยที่ภูมิคุ้มกันต่ำ หรือโอกาสติดเชื้อง่าย เช่น เบาหวาน เป็นต้น

บาดแผล ยาฆ่าเชื้อให้ในกรณีที่แผลมีโอกาสติดเชื้อสูงเท่านั้น และเป็นการให้เพื่อการป้องกันการติดเชื้อ ยาที่ควรใช้ Dicloxacillin ผู้ใหญ่ 250 มก. วันละ 4 ครั้ง 2 วัน เด็ก 25-50 มก. วันละ 4 ครั้ง 2 วัน Clindamycin ผู้ใหญ่ 150-300 มก. วันละ 4 ครั้ง 2 วัน เด็ก 8-25 มก./กก./วัน วันละ 4 ครั้ง 2 วัน

ข้อควรรู้ ในการชะล้างแผลที่สกปรกเป็นร่องลึกควรใช้ syringe 10-40 cc. ฉีดล้างบริเวณแผลให้ทั่วถึง แค่ scrub อย่างเดียวไม่ได้ ไม่จำเป็นต้องใส่น้ำยาฆ่าเชื้อใดๆลงในบาดแผล เพราะไม่ลดโอกาสติดเชื้อและ อาจทำลายเนื้อเยื่อในแผลให้แผลหายช้าลง ทุกครั้งที่ผู้ป่วยมาทำแผลต้องสังเกตุแผลเสมอว่ามีการอักเสบหรือไม่

ข้อควรรู้ การตัดไหม กรณีแผลที่หน้า ตัดไหม 5 วัน แผลที่ข้อพับ ตัดไหม 10-14 วัน แผลอื่นๆ ตัดไหม 7 วัน

The end