Combination Logic Circuit

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Advertisements

Combination Logic Circuits
ลอจิกเกต (Logic Gate).
Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Functional Programming
ตัวอย่าง Flowchart.
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
บทที่ 5 การทำงานแบบวนซ้ำ
CE 112 บทที่ 5 การทำซ้ำในภาษา C
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
CHAPTER 18 FOURIER TRANSFORM
อ.อรวรรณ เชาวลิต For คำสั่งวนซ้ำ อ.อรวรรณ เชาวลิต
แบบฝึกหัด (drill and Practice)
12.5 อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและการประยุกต์
ตัวดำเนินการ (Operator) คือสัญลักษณ์หรือเครื่องหมายแทนการกระทำกับข้อมูล เพื่อบอกให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทราบว่าจะต้องดำเนินการใดกับข้อมูลใดบ้าง แบ่งออกเป็น.
EEE 271 Digital Techniques
Minimization วัตถุประสงค์ของบทเรียน
Boolean Algebra วัตถุประสงค์ของบทเรียน
Digital Logic and Circuit Design
Basic Logic Gates วัตถุประสงค์ของบทเรียน รู้จักสัญญาณดิจิตอล
น.ส.กฤติกา วงศาวณิช นายศุภชัย ตั้งบุญญะศิริ
Boolean Algebra พีชคณิตบูลลีน บทที่ 4.
Flip-Flop บทที่ 8.
ขั้นตอนการประมวลผล แบบ FUZZY.
ดร.สุรศักดิ์ มังสิงห์ SPU, Computer Science Dept.
คำสั่งควบคุมเงื่อนไข และการทำงานเป็นรอบ
ระบบการผลิต ( Production System )
รูปแบบคาโนนิคัล หรือรูปแบบบัญญัติ หรือรูปแบบมาตรฐาน canonical forms
เกท (Gate) AND Gate OR Gate NOT Gate NAND Gate NOR Gate XNOR Gate
การวิเคราะห์และสังเคราะห์เกต
โครงสร้างควบคุมการทำงาน
ตอนที่ 4 ความรู้พื้นฐานทางดิจิตอล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
พีชคณิตบูลีน และการออกแบบวงจรลอจิก (Boolean Algebra and Design of Logic Circuit)
พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
Week 5 การทำซ้ำโดย while loop และ do while loop
Chapter 5 การทำซ้ำโดย while loop และ do while loop
Week 5 การทำซ้ำโดย while loop และ do while loop
คำสั่งควบคุมขั้นตอน Flow control statements
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
แบบทดสอบหลังเรียนวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
Gate & Circuits.
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
สาขาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร.
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
บทที่ 1 ดิจิตอลลอจิกและ โครงสร้างคอมพิวเตอร์
สาระการเรียนรู้ที่ ๙ ประโยคเปิด
LAB 2. การเขียนวงจรลอจิกจากสมการลอจิก
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Computer Programming การเขียนโปรแกรม คอมพิวเตอร์ สัปดาห์ที่ 6 คำสั่งควบคุมการทำงานแบบ เงื่อนไขและคำสั่งควบคุมการ ทำงานแบบวนซ้ำ.
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
การทำซ้ำ (for).
Nested loop.
ค31212 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 2
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
ครั้งที่ 3 การวิเคราะห์ และ ออกแบบวงจรเกต
ครั้งที่ 2 การบวกลบเลขฐานสอง (Binary Addition-Subtraction)
Flip-Flop บทที่ 8.
Flip-Flop บทที่ 8.
Flip-Flop บทที่ 8.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Combination Logic Circuit วัตถุประสงค์ของบทเรียน รู้จักวงจร combination สามารถวิเคราะห์การทำงานของวงจร combination ได้ สามารถอธิบายการทำงานของวงจร combination ได้้ในรูปของ Boolean expression หรือตารางค่าความจริง สามารถสังเคราะห์วงจร combination ได้้ 1/2550 A. Yaicharoen

รูปแบบของวงจรลอจิก วงจร logic แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. วงจร combination เป็นวงจรที่สัญญาณออก (output) ขึ้นอยู่กับสัญญาณเข้า (input) ณ เวลานั้นๆ 2. วงจร sequential เป็นวงจรที่สัญญาณออกขึ้นอยู่กับ - สัญญาณเข้า ณ เวลานั้นๆ และ - สถานะของวงจรในขณะนั้น (หรือสัญญาณเข้าก่อนหน้า) 1/2550 A. Yaicharoen

รูปแบบของวงจร combination วงจร combination เป็นวงจรที่เกิดจากการนำลอจิกเกตมากกว่า 1 ตัว มาต่อกันเพื่อให้้สร้างสัญญาณออกตามต้องการ โดยจะไม่มีการป้อนสัญญาณออกกลับเข้าสู่วงจร (no feedback loop) สามารถเขียนในรูปแบบต่างๆได้เป็น AND-OR configuration ได้จากสมการรูป SOP NAND configuration OR-AND configuration ได้จากสมการรูป POS NOR configuration 1/2550 A. Yaicharoen

การวิเคราะห์วงจรลอจิก 1. กำหนดตัวแปร output ของเกตที่มีแต่เฉพาะ input ที่เป็นแบบตัวแปรเดี่ยว 2. เขียนฟังก์ชันของ output แต่ละตัวที่กำหนดในข้อ 1 ในรูปของตัวแปรเดี่ยว 3. กำหนดตัวแปร output ของเกตที่มี input เป็นตัวแปรเดี่ยวและ output ของเกตในข้อ 2 4. เขียนสมการโดยใช้ผลในข้อ 2 แทนลงในตัวแปร output จากข้อ 3 5. ทำซ้ำไปเรื่อยๆ จนสมการของ output อยู่ในรูปของตัวแปรเดี่ยว 6. เขียนตารางค่าความจริงจากสมการที่ได้ 1/2550 A. Yaicharoen

Example 1 1/2550 A. Yaicharoen

Example 2 1/2550 A. Yaicharoen

Example 3 1/2550 A. Yaicharoen

การสังเคราะห์วงจรลอจิก 1. เขียนฟังก์ชันจากตารางค่าความจริง โดยเลือกเขียนเฉพาะ output ที่เป็น 1 หรือ 0 หรือใช้หลักการของ minterm หรือ maxterm 2. หารูปแบบที่สั้นที่สุด ถ้าต้องการ 3. เขียนวงจรขึ้นจากสมการที่ได้ 3.1 ถ้า input แต่ละตัวมีทั้งรูปปกติและรูป complement จะเรียกว่าเป็นแบบ double-rail logic 3.2 ถ้า input มีแต่รูปปกติ ให้ต่อผ่าน NOT gate เพื่อให้ได้รูป complement ซึ่งจะเรียกว่าเป็นแบบ single-rail logic 4. levels of logic คือจำนวนของเกตมากที่สุดที่สัญญาณต้องวิ่งผ่าน 1/2550 A. Yaicharoen