หน่วยที่ 3 อินทิกรัลและการประยุกต์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Antiderivatives and Indefinite Integration
Advertisements

ทฤษฎีบทลิมิต (Limit Theorem).
ลิมิตและความต่อเนื่อง
การประมาณค่าอินทิกรัล Numerical Integration
อินทิกรัลตามเส้น เป็นการหาปริพันธ์ของฟังก์ชันบน [a,b] จะศึกษาเรื่อง
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)
ลิมิตซ้ายและลิมิตขวา
ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์
อินทิกรัลของฟังก์ชันตรีโกณมิติแบบแน่นอน
Welcome To Math 167 Presence by Chat Pankhao
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จำนวนจริง F M B N ขอบคุณ เสถียร วิเชียรสาร.
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ลำดับจำกัดและลำดับอนันต์
1. จงหาอนุพันธ์ของฟังก์ชันต่อไปนี้
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
อนุกรมกำลัง (power series)
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
การหาปริพันธ์โดยวิธีแทนที่
MATLAB Week 7.
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Chapter 4 อินทิกรัล Integrals
บทที่ 8 เมตริกซ์และตัวกำหนด.
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
เฉลยแบบฝึกหัด 1.5 จงพิจารณาว่า ฟังก์ชันในข้อต่อไปนี้ไม่มีความต่อเนื่องที่ใดบ้าง วิธีทำ เนื่องจากฟังก์ชัน และ.
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง.
ฟังก์ชัน y เป็นฟังก์ชันของ x ก็ต่อเมื่อ มีความสัมพันธ์ระหว่าง x และ y โดยเราสามารถหาค่า y ได้เมื่อกำหนดค่าของ x ให้ เช่น y = x2+1 เรียก y.
ปฏิยานุพันธ์ (Integral)
หน่วยที่ 11 อินทิกรัลสามชั้น
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
หน่วยที่ 15.
มิสกมลฉัตร อู่ศริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การหาปริพันธ์ (Integration)
เทคนิคการอินทิเกรต การหาปริพันธ์โดยแยกเศษส่วนย่อย
คำศัพท์ที่น่าสนใจใน A5
ประมวลการสอนรายวิชา คณิตศาสตร์ 2
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
ความสัมพันธ์และความสัมพันธ์ทวิภาค
การดำเนินการบนเมทริกซ์
ค33212 คณิตศาสตร์คอมพิวเตอร์ 6
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
จำนวนเต็มกับการหารลงตัว
อินเวอร์สของความสัมพันธ์
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทเรียนสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้โปรแกรม Microsoft Multipoint
บทที่ 1 ลิมิตของฟังก์ชัน
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
วงรี ( Ellipse).
ระบบควบคุมอัตโนมัตในงานอุตสาหกรรม
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ อ.วีระ คงกระจ่าง
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงก์ลิสต์
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู่
ลิมิตและความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
อินทิกรัลของฟังก์ชัน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หน่วยที่ 3 อินทิกรัลและการประยุกต์ อ.ปิยพร นุรารักษ์

ตอนที่ 3.1 อินทิกรัลเบื้องต้น

การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน F(x) f(x) derivative หรือ การหาอนุพันธ์ของฟังก์ชัน f(x) F(x) antiderivative หรือ การหาปฏิยานุพันธ์ของฟังก์ชัน

บทนิยาม ถ้า F(x) = f(x) สำหรับทุกๆ ค่า x ในโดเมนของฟังก์ชัน f(x) แล้ว จะได้ว่า ปฏิยานุพันธ์ทั่วไปหรือ ฟังก์ชันดั้งเดิมทั่วไป ของ f(x) คือ F(x) + c และจะเขียนแทน F(x) + c ด้วย ซึ่งเรียกว่า อินทิกรัลไม่จำกัดเขต (indefinite integrals) ของ f(x) เทียบกับ x

ตัวอย่าง จงหาอินทิกรัลไม่จำกัดเขตของ f(x) เมื่อกำหนดให้ 1) 2) วิธีทำ 1) เนื่องจากอนุพันธ์ของ จะได้ว่า คือ ปฏิยานุพันธ์ของ

ดังนั้น คือ อินทิกรัลไม่จำกัดเขตของ ดังนั้น

2) เนื่องจากอนุพันธ์ของ จะได้ว่า คือ ปฏิยานุพันธ์ของ ดังนั้น คือ อินทิกรัลไม่จำกัดเขตของ ดังนั้น

ตัวอย่าง จงอินทิเกรต

วิธีทำ โดยการประยุกต์สูตร จากโจทย์จะได้ว่า n=2 เมื่อแทนค่าในสูตรจะได้ เมื่อ c คือ ค่าคงตัวใดๆ

เมื่อ จากสูตร และ จะได้ว่า เมื่อ

จากสูตร และ จะได้ว่า

อินทิกรัลจำกัดเขต ให้ f(x) เป็นฟังก์ชันที่หาค่าได้บน [a,b] อินทิกรัลจำกัดเขต (definite integral) ของ f บน [a,b] เขียนแทนด้วย เรียก a และ b ว่า ลิมิตล่าง (lower limit) และ ลิมิตบน (upper limit) ของการอินทิเกรตตาม ลำดับ

ตัวอย่าง จงหาอินทิกรัลจำกัดเขตของ f(x) เมื่อกำหนดให้ 1) 2) วิธีทำ

ตอนที่ 3.2 เทคนิคการอินทิเกรต

1. การอินทิเกรตโดยการเปลี่ยนตัวแปร 2. การอินทิเกรตโดยการแยกส่วน 3. การอินทิเกรตโดยการแยกเป็นเศษส่วนย่อย 4. การอินทิเกรตฟังก์ชันตรีโกณมิติ 5. การอินทิเกรตโดยการแทนที่ด้วยฟังก์ชันตรีโกณมิติ

การอินทิเกรตโดยการเปลี่ยนตัวแปร การอินทิเกรตโดยการเปลี่ยนตัวแปรเป็นเทคนิคการเปลี่ยนตัวแปรในโจทย์ที่เราไม่คุ้นเคยให้อยู่ในรูปที่เรารู้จัก หรือสามารถใช้สูตรช่วยในการคำนวณได้

ตัวอย่าง จงหา กำหนดให้ u = x3-1 วิธีทำ จะได้ ดังนั้น

การอินทิเกรตโดยการแยกส่วน การอินทิเกรตโดยการแยกส่วนจะถูกนำมาใช้ในกรณีที่อินทิกรัลมีตัวถูกอินทิเกรตอยู่ในรูปของ ฟังก์ชัน เช่น และ จากสูตรการหาอนุพันธ์ของผลคูณ ให้ u และ v เป็นฟังก์ชันของ x จึงได้สูตรสำหรับการอินทิเกรตโดยการแบ่งส่วนดังนี้

ตัวอย่าง จงหา กำหนดให้ u = ln x, dv = x3 dx จะได้ จากสูตร วิธีทำ จะได้ จากสูตร เมื่อแทนค่าจะได้

การอินทิเกรตโดยการแยกเป็นเศษส่วนย่อย การอินทิเกรตโดยการแยกเป็นเศษส่วนย่อยจะถูกนำมาใช้ในกรณีที่อินทิกรัลมีตัวถูกอินทิเกรต อยู่ในรูปของฟังก์ชัน ตรรกยะ โดยที่ P(x) และ Q(x) เป็นฟังก์ชันพหุนาม และกำลังสูงสุดของ P(x) น้อยกว่ากำลังสูงสุดของ Q(x)

ตัวอย่าง จงหา วิธีทำ แล้ว

การอินทิเกรตฟังก์ชันตรีโกณมิติ การอินทิเกรตฟังก์ชันตรีโกณมิติที่ซับซ้อน สามารถหาได้โดยการใช้การอินทิเกรตโดยการเปลี่ยนตัวแปร นอกจากนั้นบางครั้งยังต้องอาศัยเอกลักษณ์ตรีโกณมิติช่วยในการเปลี่ยนรูปอินทิกรัลให้อยู่ในรูปที่สามารถใช้สูตรพื้นฐานได้

ตัวอย่าง จงหา ใช้เอกลักษณ์ตรีโกณมิติ จะได้ วิธีทำ จะได้ จาก sin(-x)= -sin x จะได้ว่า

การอินทิเกรตโดยการแทนที่ด้วยฟังก์ชันตรีโกณมิติ การอินทิเกรตโดยการแทนที่ด้วยฟังก์ชันตรีโกณมิติจะถูกนำมาใช้ในกรณีที่อินทิกรัลมีตัวถูกอินทิเกรตอยู่ในรูปของฟังก์ชัน , และ เมื่อ a>0 รวมอยู่