ครั้งที่ 7 Composition.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา JAVA
Advertisements

Suphot Sawattiwong Function ใน C# Suphot Sawattiwong
Structure Programming
Structure Programming
Object and classes.
05_3_Constructor.
ฟังก์ชั่น function.
Object Oriented Programing
ปฏิบัติการครั้งที่ 9 ฟังก์ชัน.
การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาตอนที่ ๓
หลักการเชิงวัตถุ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
Selected Topics in IT (Java)
Network programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
การสืบทอด (Inheritance)
การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ด้วยภาษาจาวา
บทที่ 3 Class and Object (1) การสร้างและการใช้งานคลาส
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
 เป็นเมธอดที่มีคุณลักษณะของ Polymorphism รูปแบบหนึ่ง โดยใช้ชื่อเมธอดเดียวกัน มากกว่า 1 เมธอด เพื่อทำงานในแบบเดียวกัน  คลาสลูกสามารถเขียนทับ เมธอดของคลาสแม่ได้
บทที่ 1 หลักการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (2) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
คลาสและวัตถุ (3) (Class & Object). w5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 24, 25 as5_000.rar การใช้งานเมธอดภายในคลาสเดียวกัน ข้อ 23 2.
คลาสและวัตถุ (4) (Class & Object)
บทที่ 4 Method (1).
การสืบทอดคุณสมบัติ (Inheritance)
OOP (Object-Oriented Programming)
C# Programming Exceed Camp: Day 3.
อาร์เรย์ (Array).
Lecture 9 Class (คลาส) To do: Hand back assignments
Inheritance การสืบทอดคลาส
String Class มหาวิทยาลัยเนชั่น การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA
อาร์เรย์ หรือแถวลำดับ (Array)
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 15 มิถุนายน 2550 Structure Programming มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 3 มิถุนายน 2550 Method of Class มหาวิทยาลัยเนชั่น.
Page: 1 การโปรแกรมเชิงวัตถุด้วยภาษา JAVA บุรินทร์ รุจจนพันธุ์.. ปรับปรุง 22 มิถุนายน 2550 ความผิดพลาดที่พบ บ่อย มหาวิทยาลัยเนชั่น.
บทที่ 8 อาร์เรย์.
บทที่ 6 เมธอด.
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
โปรแกรมภาษาจาวาเบื้องต้น Basic Java Programming 3(2-2-5)
ความสัมพันธ์ระหว่างคลาส (Class Relationship)
Object Oriented Programming Handling Exceptions
Method of Class อ.สุพจน์ สิงหัษฐิต
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
Lec03 :: หลักการเชิงออปเจ็ค (Object Oriented Concept)
Lec05 :: การสืบทอด (inheritance)
Object-Oriented Programming
บทที่ 3 Class and Object (2).
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
Java collection framework
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
BCS 121 บท 5 การโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object-Oriented Programming)
สายอักขระ เขียนโปรแกรม Java เบื้องต้น.
Object Oriented Programming : OOP
การสืบทอด (inheritance)
chapter5 - คลาสนามธรรม - อินเตอร์เฟสคลาส
TECH30201 Object-Oriented Programming
Class. ทบทวน Object ประกอบด้วย ชื่อ Attributes -> คุณลักษณะ Methods -> การกระทำ ให้ลองเขียน Object โดยใช้รูปแบบดังนี้ ชื่อ Attributes Methods.
Inheritance และ Encapsulation.  การสร้างหรือพัฒนาคลาสใหม่จากคลาสเดิมที่ มีอยู่แล้ว  คลาสใหม่จะนำแอตทริบิวต์และเมธอดของ คลาสเดิมมาใช้  เป็นการถ่ายทอดคุณสมบัติจากคลาสหนึ่งสู่อีก.
Object-Oriented Programming
คอนสตรัคเตอร์ (Constructor)
chapter 2 - Construction and destruction - Overloading method
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
Chapter 6 Abstract Class and Interface
Nested loop.
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
บทที่ 3 การสืบทอด (Inheritance)
Method and Encapsulation
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ครั้งที่ 7 Composition

ภาพรวมเนื้อหา หลักการ composition การประกาศและสร้าง attribute ที่เป็น object Method ที่รับพารามิเตอร์เป็น object Method ที่คืนค่าเป็น object

Composition (การประกอบ) เป็นการสร้างคลาสใหม่ที่มี attribute เป็น object จากคลาสอื่น เช่น คลาสรถยนต์ จะประกอบด้วยคลาสเครื่องยนต์ คลาสล้อ เป็นต้น Composition ไม่เหมือนกับ inheritance คลาสเหล่านั้นไม่ได้มีความสัมพันธ์กัน ต่างก็เป็นอิสระจากกัน แต่สามารถเรียกใช้ attribute หรือ method ของคลาสที่มาประกอบกันได้ (เสมือนว่ามันมีความสัมพันธ์กัน)

ตัวอย่าง คลาสนิสิตมหาวิทยาลัยบูรพา (class BuuStudent) อาจประกอบขึ้นมาจาก คลาสข้อมูลส่วนตัว (class Personal) คลาสคณะ (class Faculty) class BuuStudent class BuuStudent Class Personal Class Faculty class Personal class Faculty

ตัวอย่าง การเขียนคลาสรถยนต์ ที่ประกอบขึ้นมาจากคลาสอื่นๆ

ข้อดีของ composition ทำให้ง่ายต่อการพัฒนาโปรแกรมเชิงวัตถุ เพราะคลาสที่เคยสร้างไว้สามารถถูกนำไปใช้ใหม่ แต่ละคลาสที่มาประกอบรวมกันเกิดเป็นคลาสใหม่ จะมีการทำงานที่เป็นอิสระ แยกจากกัน ไม่ขึ้นกับ object ของคลาสอื่นๆ การพัฒนาโปรแกรมมีความยืดหยุ่น เช่น คลาสรถยนต์สามารถเปลี่ยน object ของล้อ ตามยี่ห้อรถยนต์ที่แตกต่างกันได้ โปรแกรมมีการทำงานที่แบ่งเป็นส่วนย่อย ทำให้สามารถแก้ไขปรับปรุงในแต่ละส่วนย่อย โดยไม่ส่งผลต่อการทำงานในส่วนอื่นๆ

ตัวอย่างการเขียนคลาสแบบ composition คลาส ข้อมูลส่วนตัว (PersonalInfo) ประกอบขึ้นมาจาก คลาส Person ซึ่งจะเก็บข้อมูล ชื่อ นามสกุล คลาส Date ซึ่งจะเก็บข้อมูล วัน เดือน ปี

คลาส Person Person -firstName : String -lastName : String +Person() +Person(firstName, lastName) +getName():String +getLastName() : String +setName(firstName, lastName) +print()

คลาส Date Date -dDay : int -dMonth : int -dYear : int +Date() +Date(dDay, dMonth,dYear) +getDay(): int +getMonth(): int +getYear() : int +setDate(dDay, dMonth, dYear) +print()

Implement class Person public class Person { private String firstName; private String lastName; public Person() { firstName =""; lastName =""; } public Person(String firstName, String lastName) { this.firstName = firstName; this.lastName = lastName; public String getLastName() { return lastName;

Implement class Person public String getFirstName() { return firstName; } public void setName(String firstName, String lastName) { this.firstName = firstName; this.lastName = lastName; public void print(){ System.out.println(firstName + “ ” + lastName);

Implement class Date public class Date { private int dMonth; private int dDay; private int dYear; public Date() { dMonth = 1; dDay = 1; dYear = 1900; } public Date(int dMonth, int dDay, int dYear) { this.dMonth = dMonth; this.dDay = dDay; this.dYear = dYear;

Implement class Date return dYear; }public int getdMonth() { public int getdYear() { return dYear; }public int getdMonth() { return dMonth; } public int getdDay() { return dDay; } public void setDate(int dDay, int dMonth, int dYear) { this.dDay = dDay; this.dMonth = dMonth; this.dYear = dYear; } public void print(){ System.out.println(dMonth + "-"+dDay+"-"+dYear); }

Implement class PersonalInfo อย่างไร จะประกาศ attribute นี้อย่างไรดี

การประกาศและสร้าง attribute ที่เป็น object [modifier] type ชื่อattribute ; [int , double , boolean , char , String] ไม่แปลกอะไร ถ้า type ของ attribute จะมีชนิดเป็นคลาส public Data d; // attribute ชื่อ d มีชนิดเป็นคลาส Data (ใน code เราต้องมีการสร้างคลาส Data เอาไว้)

การประกาศและสร้าง attribute ที่เป็น object public Data d; // เป็นแค่การประกาศตัวแปร ยังไม่มี object เกิดขึ้น แสดงว่ายังใช้งานไม่ได้ จะใช้งานได้เราต้องสร้าง object ขึ้นมา ทำไปพร้อมกันในบรรทัดเดียวเลย public Data d = new Data(); ทำทีหลังใน constructor public class Box { public Data d; public Box() { d = new Data(); }

ตัวอย่าง public class Data { public int x ; } public class Box { public double v; public Data d = new Data(); public Box(){ } public Box(double v , Data d){ this.v = v; this.d = d; public void show(){ System.out.println("v : "+v); System.out.println("d.x "+d.x); public class Data { public int x ; } ไม่ได้มีความสัมพันธ์เป็นแม่ลูกกัน แต่เรียกใช้ attribute ของคลาส Data ได้

Method ที่รับพารามิเตอร์เป็น object หากเรามองว่า class ที่เราสร้างขึ้นเปรียบเสมือนเป็นชนิดของตัวแปรแบบใหม่ นอกเหนือจากชนิดข้อมูลพื้นฐานที่มีอยู่ในภาษาจาวา เราจะสามารถดำเนินการรับค่า หรือ คืนค่าข้อมูลที่เป็น object ได้เหมือนกับข้อมูลปกติที่เคยทำมา

ตัวอย่าง public class Data { public int x; public boolean isEq1(int n){ //รับค่าเพียงแค่ค่าเดียว return x == n; } public boolean isEq2(Data d) { return x == d.x; รับทั้งก้อน object เข้ามา (ได้ทั้ง attribute และ method ของ object d)

Method ที่คืนค่าเป็น object public class Data { public int x; public int getX(){ return x; } public Data getData(){ Data d = new Data(2); return d; คืนค่าข้อมูลในรูปแบบ object เปรียบเหมือนเป็นการคืนข้อมูลออกไปทั้งก้อน ผู้รับสามารถใช้ได้ทั้ง attribute และ method ของตัวแปรอ้างอิง d

Implement class PersonalInfo public class PersonalInfo { Person name = new Person(); Date bDay = new Date(); int personID; public PersonalInfo() { } public PersonalInfo(String first,String last, int dDay, int dMonth, int dYear, int personID) { public void setPersonalInfo(String first,String last, int dDay, int dMonth, int dYear, int personID) { public void print(){ System.out.println ("Name: "+name.toString()); System.out.println ("Date of birth: "+bDay.toString()); System.out.println ("Personal ID: "+personID); สร้าง object ของคลาส Person และ คลาส Date จะทำให้เราสามารถเรียกใช้งาน attribute และ method ต่างๆ ได้ เราสามารถเรียกใช้งาน attribute และ method ต่างๆ ของคลาส Person และ Date ได้ ผ่านทาง object ที่สร้าง

Implement class Test public class Test { public static void main(String[] args) { PersonalInfo pi = new PersonalInfo("Somchai","Rakchat",10,12,1977,9999); pi.print(); } ผลลัพธ์ของโปรแกรม

สรุป Composition คือ การสร้างคลาสใหม่ที่ประกอบขึ้นจากคลาสที่เราเคยสร้างไว้ เคยสร้างคลาส Person และ คลาส Date ไว้ เมื่อจะสร้างคลาส PersonalInfo ก็สร้างโดยให้ประกอบขึ้นมาจากสองคลาสนี้ Attribute ของคลาส PersonalInfo คือ object ของคลาสที่จะนำมาประกอบรวมกันเกิดเป็นคลาสนี้ขึ้น Person name = new Person(); Date bDay = new Date();

สรุป การเรียกใช้งาน attribute ที่ประกาศเป็น object (ถ้าตัวแปรของคลาสเป็น public ก็ใช้ได้เลย ถ้าเป็น private ต้องทำผ่าน getter/ setter method) ดังตัวอย่าง name.setFirstName(first); name.setLastName(last); bDay.setdDay(dDay); bDay.setdMonth(dMonth); bDay.setdYear(dYear); ใช้งาน attribute ของคลาส Person ผ่าน object name ใช้งาน attribute ของคลาส Date ผ่าน object bDay

สรุป การเรียกใช้งาน method ของ attribute ที่ประกาศเป็น object (ตัวอย่างการเรียกใช้ method ของคลาส Person และ คลาส Date) System.out.println ("Name: "+name.print()); System.out.println ("Date of birth: "+bDay.print());

สรุป นอกเหนือจากข้อมูลที่ได้มาจากคลาสที่นำมาประกอบกัน คลาสใหม่ก็สามารถมีข้อมูลเพิ่มเติม ของตนเองได้ เช่น int personID; // เป็นตัวแปรของคลาส PersonalInfo เอง ในทำนองเดียวกัน คลาสใหม่จะมี method ของตนเอง เพิ่มเติมกี่ method ก็ได้

กิจกรรมส่งท้าย พิจารณาโปรแกรมต่อไปนี้ แล้วตอบคำถาม public class Test { public static void main(String[] args) { PersonalInfo pi = new PersonalInfo("Somchai","Rakchat",10,12,1977,9999); pi.print(); } จาก object pi ที่ method main ถ้าเราต้องการเปลี่ยนวันเดือนปีเกิดเป็น 09-04-1900 จะต้องเขียนคำสั่งอย่างไร จาก object pi ที่ method main ถ้าเราต้องการเปลี่ยน ID ของพนักงานเป็น 1234 จะทำได้อย่างไร