รูปแบบการวิจัย Research Design ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
การวิจัย เป็นการค้นคว้า อย่างเป็นระบบ มีเหตุมีผล เพื่อผลิตความรู้ใหม่ ซึ่งความรู้ใหม่ อาจเป็นความรู้ใหม่ เชิงทฤษฏี หรือการประยุกต์ปฏิบัติก็ได้ แต่ต้องอยู่บนรากฐาน ของความถูกต้อง โดยต้องพยายาม หลีกเลี่ยง ความแปรปรวน และอคติต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น โดยใช้รูปแบบการวิจัย วิธีการวิจัย และสถิติที่เหมาะสม
ขั้นตอนกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การกำหนดปัญหา การตั้งสมมติฐาน รวบรวมข้อมูลและ พิสูจน์สมมติฐาน ข้อสรุปจากการศึกษา ไม่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว่ สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว่ รับรองสมมติฐาน ได้สมมติฐานใหม่
โลกความจริง โลกสมมติ กำหนดปัญหา การตั้งสมมติฐาน พิสูจน์สมมติฐาน ผลที่ได้จากการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล การแปลผล ข้อสรุป
เกณฑ์พิจารณาว่าเรื่องใดเป็นงานวิจัย ความสมบูรณ์ของกระบวนการ ความลึกซึ้งของการค้นคว้า ได้ความรู้ใหม่ ความถูกต้องและความเชื่อถือได้
การวิจัย 2 แบบ การวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยเชิงปริมาณ
การวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยเชิงคุณภาพ (เชิงคุณลักษณะ) เครื่องมือคือนักวิจัย ถามเฉพาะคนที่รู้เรื่องดี การสังเกต (Observation) Participant Observation Non-Participant Observation Focus Group, in-depth Interview, Life history collection
การวิจัยเชิงคุณภาพ Observation - Structured Observation - Unstructured Observation สัมภาษณ์ทางลึก (In-depth Interview) คำถามปลายเปิด (Open ended questions) การสนทนากลุ่ม (Focus group) ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้มีความรู้ (Key Informants) มีนักวิจัย ผู้จดบันทึก ใช้เทปบันทึก ถอดเทปสรุปวิเคราะห์ข้อมูล การศึกษาเฉพาะราย (Case study, Life history collection)
การวิจัยเชิงปริมาณ ต้องมีกลุ่มตัวอย่างจำนวนที่กำหนด มีเครื่องมือ เช่น แบบสอบถาม ใช้หลักวิชาสถิติวิเคราะห์ จำแนกตามวิธีการวิจัย แบ่งเป็น Observational Study และ Experimental study
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม (Independent Variables) ตัวแปรตาม (Dependent Variables) เป็นต้นเหตุ เป็นปัจจัยเสี่ยง เป็นตัวกำหนด มีอิทธิพล
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม โดยที่ตัวแปรอิสระ เป็นตัวแปรที่อาจเป็นต้นเหตุ หรือปัจจัยเสี่ยง (Risk Factor) หรือเป็นตัวที่กำหนด (Determines) หรือเป็นตัวที่มีอิทธิพล (Influences) ต่อตัวแปรตาม (Andrew Fisher, John Laing, John Stoeckel, 1984)
ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม เช่น ถ้าตัวแปรอิสระ คือการสูบบุหรี่ ตัวแปรตาม คือโรคมะเร็งปอด ถ้าตัวแปรอิสระ คือระดับการศึกษา ตัวแปรตาม คือระดับรายได้ หรือระดับตำแหน่งหน้าที่ ถ้าตัวแปรอิสระ คือระดับรายได้ ตัวแปรตาม คือระดับการมีคุณภาพชีวิต และการมีสุขภาพอนามัยดี เป็นต้น
กลุ่มควบคุม กลุ่มควบคุม (Control Group) หรือ กลุ่มเปรียบเทียบ (Comparison Group) อายุ เพศ เชื้อชาติ อาชีพ คล้ายๆกัน จำนวนกลุ่มควบคุมเท่าๆกัน หรืออาจเป็น 2 เท่าของกลุ่มทดลอง
รูปแบบการวิจัย การวิจัยโดยการสังเกต (Observation Research) การวิจัยโดยการทดลอง (Experimental Research) Risk Factor เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือว่าผู้ทดลองเป็นผู้กำหนดให้ตัวอย่างได้รับ Risk Factor
จำแนกรูปแบบการวิจัย จำแนกตามเป้าหมาย จำแนกตามลักษณะสิ่งที่ศึกษา จำแนกตามเวลา จำแนกตามวิธีดำเนินงานวิจัย
จำแนกตามเป้าหมาย การวิจัยพื้นฐาน (Basic Research) การวิจัยประยุกต์ (Applied Research)
จำแนกตามลักษณะสิ่งที่ศึกษา วิจัยเอกสาร (Documentary Research) วิจัยทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Research) วิจัยในสัตว์ทดลอง (Animal Research) วิจัยทางคลินิก (Clinical Research) วิจัยชุมชน (Community Research) วิจัยปฏิบัติการ (Operational Research) วิจัยระบบบริการสาธารณสุข (Health Service Research)
จำแนกตามเวลา การวิจัยย้อนหลัง (Retrospective) การวิจัยไปข้างหน้า (Prospective)
จำแนกตามวิธีดำเนินงานวิจัย การวิจัยโดยการสังเกต (Observation Research) วิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) วิจัยเชิงวิเคราะห์ (Analytical Research) การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)
ผู้วิจัยกำหนด Exposure การวิจัยเชิงพรรณนา Cross-sectional (Prevalence) การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) Longitudinal (Incidence) ผู้วิจัยกำหนด Exposure การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Study) ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง (Cross-sectional) การวิจัยโดยการสังเกต (Observational Research) ไม่มีกลุ่มเปรียบเทียบ Exposure เกิดตามธรรมชาติ การวิจัยเชิงวิเคราะห์ (Analytic Study) ชนิดไปข้างหน้า (Cohort or Prospective) มีกลุ่มเปรียบเทียบ ชนิดย้อนหลัง (Case control or Retrospective)
Descriptive Study Cross-sectional study ศึกษาความชุก (Prevalence) Longitudinal study ศึกษาอุบัติการณ์ (Incidence)
Analytic Study Cohort or prospective Case Control or retrospective study Cross-sectional พบเหตุและผลได้พร้อมๆกัน
เลือกรูปแบบการวิจัย ประเมินขนาดของปัญหา ใช้การวิจัยเชิงพรรณนา ศึกษาธรรมชาติของโรค ใช้การวิจัยเชิงพรรณนา ค้นหาสาเหตุปัจจัยเสี่ยงของโรค เช่น พิสูจน์สมมติฐานความสัมพันธ์บุหรี่กับมะเร็งปอด การวิจัยเชิงวิเคราะห์หรือการวิจัยเชิงทดลอง การวิจัยเชิงทดลองให้ผลวิจัยเชื่อถือได้มากที่สุด เพราะออกแบบให้หลีกเลี่ยง Bias ที่อาจเกิดขึ้นได้ แต่มีปัญหาด้านจริยธรรมได้ ประเมินผลระบบบริการ ใช้การวิจัยเชิงทดลอง
การวิจัยแบบไปข้างหน้า Cohort หรือ Prospective study ข้อดี ไม่มีปัญหาจริยธรรรมเพราะเป็นการสังเกตตามธรรมชาติ มีอคติน้อยกว่าเพราะกำหนดกฎเกณฑ์การคัดเลือกเข้าได้ (Eligibility) หา Incidence ของโรคได้ ข้อเสีย ใช้ เงิน คน เวลา มากกว่า ถ้าโรคนั้นพบน้อยหรือต้องใช้เวลานานกว่าจะเกิดโรคก็ต้องติดตามนานมาก ไม่สามารถควบคุมปัจจัยกวนให้กระจายเท่ากัน
การวิจัยแบบไปข้างหลัง Case-Control หรือ Retrospective study ข้อดี เหมาะสำหรับศึกษาโรคที่มีอุบัติการณ์ต่ำ ประหยัด ง่ายและรวดเร็ว วัดปัจจัยเสี่ยงได้หลายอย่าง ไม่มีปัญหาด้านจริยธรรม ข้อเสีย เลือกกลุ่มควบคุมได้ยาก Recall Bias ซักย้อนหลังไปนานจึงจำไม่ได้ Exposure Suspicion Bias ผู้สัมผัสสี่งคุกคามจะถูกซักถามมากกว่า
Experimental Study Researcher assign exposure status to population New Treatment Success Fail Population Random Control or Standard Treatment Success Fail
Phase 1 ประมาณ 10 คน พิสูจน์ว่าปลอดภัย Phase 3 Standard RCT Safety & Efficacy Phase 4 Post-marketing surveillance
Experimental study Quasi Experimental study No randomization