ระบบประสาท (Nervous System)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ชีววิทยา (Biology) มัธยมศึกษาตอนต้น.
Advertisements

โดย แพทย์หญิงมยุรา เทพเกษตรกุล อายุรแพทย์เฉพาะทางโรคเบาหวานและระบบต่อมไร้ท่อ คลินิกเบาหวาน ร. พ. กรุงเทพพัทยา.
ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
องค์ประกอบของร่างกายมนุษย์
เนื้อหา โครงสร้างส่วนประกอบของเซลล์ประสาท ชนิดและหน้าที่ของเซลล์ประสาท
การย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
ภูมิคุ้มกันของร่างกาย
เพิ่มพูนทักษะการเคลื่อนไหว
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดย ณัฐพล ระวิ
สื่อประกอบการเรียนรู้
ของส่วนประกอบของเซลล์
Group Acraniata (Protochordata)
อาณาจักรสัตว์ (Kingdom Animalia)
Basic principle in neuroanatomy
โครโมโซม.
อิทธิบาท 4 เพื่อพัฒนาอารมณ์และจิตใจของวัยรุ่น
Electromyography (EMG) and Skeletal muscle contraction
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
ต่อมไทรอยด์ คือ ต่อมไร้ท่อชนิดหนึ่งของร่างกาย อยู่บริเวณคอด้านหน้า, วางอยู่หน้าต่อหลอดลม ต่อมไทรอยด์ มีหน้าที่สร้างไทรอยด์ฮอร์โมน โดยใช้ ธาตุไอโอดีน.
ประเมินสภาพของผู้บาดเจ็บ
วิตามินบี 12 (Cobalamin)
เฉลย หากสามารถค้นหาได้ภายในเวลา ๒๕ วินาทีนั่นแสดงว่า หากสามารถหาได้ในเวลา ๑ นาทีแสดงว่าสมองของนักเรียนพัฒนาตามปกติ
การปฏิสนธิ-ท้อง9เดือน
Thailand Research Expo
สมองและพฤติกรรม Brain and Behavior
การจัดระบบในร่างกาย.
Chromosome Q : ยีนกับโครโมโซมมีความสัมพันธ์กันอย่างไร
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
คุณสมบัติของเซลล์ เพิ่มจำนวนได้โดยการแบ่งเซลล์
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
การดูแลผู้ป่วยได้รับสารพิษเบื้องต้น
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
โรคที่เกิดจากฮอร์โมนผิดปกติ
วัยรุ่นกับปัจจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ
ห้อง ฉุกเฉิน ห้องฉุกเฉิน 5 : โอ๊ย..ปวดหัว แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
จัดทำโดย นางสาวสุกานต์ดา เสริมจันทร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์
อาหารหลัก 5 หมู่ โดย นางสาวฉัตรสุดา มงคลโภชน์
การมองเห็น และความผิดปกติของตา
โครงสร้างระบบประสาท แบ่งตามตำแหน่งและโครงสร้างได้เป็น 2 ระบบ คือ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (central nervousหรือ CNS) ได้แก่ สมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43101
รูปแบบการส่งสัญญาณข้อมูล
วัตถุระสงค์ สามารถเปรียบเทียบและอธิบายโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ อย่างถูกต้อง สามารถบอกข้อดีและข้อเสียของโทโพโลยีแต่ละรูปแบบได้ สามารถอธิบายรายละเอียดในส่วนประกอบของเครือข่าย.
ข้อดีข้อเสียของสื่อกลางประเภทมีสายและไร้สาย
ระบบน้ำเหลืองและเต้านม
อิทธิพลของฮอร์โมนเพศ
จัดทำโดย นางสาวปิยะธิดา เยาว ลักษณ์โยธิน
หัวใจ Heart นางสาวพัชฎา บุตรยะถาวร ครูผู้สอน
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย เด็กชาย คณิศร อ้อยกลาง เลขที่ 36 ม.2/5 เสนอ อ.สายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จ.ลำพูน.
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
กำมะถัน (Sulfur).
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ระบบขับถ่าย กับการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
การเจริญเติบโตของพืช จัดทำโดย เด็กชาย มณศักดิ์ จันทร์เรือง ชั้น ม
ด.ญ.ดวงดาว เจริญศรี เลขที่12 ชั้น ม.3/2
บทปฏิบัติการที่ 16 ระบบการหายใจ (Respiratory System)
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
Class Polyplacophora.
บทปฏิบัติการที่ 17 ระบบประสาท (Nervous System)
19 Nov 2014 Metabolic Integration (เมแทบอลิซึมผสมผสาน)
บทที่ 8 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ชีววิทยา นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบประสาท (Nervous System) ระบบประสาท เป็นระบบที่ควบคุมการทำงานของร่างกายในการตอบสนอง ต่อสิ่งเร้าที่มาจากภายนอกทั้งหมด ระบบประสาทได้ชื่อว่าเป็นระบบที่ซับซ้อนที่สุดในโลก

เซลล์ประสาท( Nerve cell หรือ Neuron) ประกอบด้วยตัวเซลล์ (Cell body) ภายในมีนิวเคลียสและโพรโทพลาสซึมเหมือนเซลล์อื่นๆ แต่โพรโทพลาสซึมของเซลล์ประสาทจะยื่นออกไปจากตัวเซลล์ ได้แก่ แอกซอน (Axon) ซึ่งเป็นเส้นประสาทส่งออก (Motor nerve หรือ Efferent nerve) และ เดนไตรต์ (Dendrite) ซึ่งเป็นเส้นประสาทนำเข้า (Sensory nerve หรือ Afferentnerve)

โครงสร้างของเซลประสาท (Neuron Structure ) โครงสร้างของเซลประสาท (Neuron Structure ) เซลประสาททุกตัวจะประกอบไปด้วยตัวเซล ( cell body ) และแขนงประสาทที่ยื่นออกมาจากตัวเซล (process ) คือ แอกซอน (Axon ) กับเดนไดรต์ (Dendrites ) ซึ่งเป็นใยประสาท (nerve fiber ) โดยปกติเซลประสาท 1 เซล จะมีแอกซอนอยู่ 1 อัน แต่จะมีเดนไดรต์แตกแขนงอยู่หลายแขนง แอกซอนจะทำหน้าที่นำกระแสประสาทออกจากตัวเซล ขนาดและความยาวของแอกซอนจะแตกต่างกัน สั้นบ้าง ยาวบ้าง ขึ้นอยู่กับตำแหน่งที่อยู่ แอกซอนจะมีปลอกไมอิลิน (Myelin Sheath ) คลุมอยู่ ทำหน้าที่เป็นฉนวนกั้น ส่วนเดนไดร์ตทำหน้าที่สำคัญคือ นำหรือรับความรู้สึกเข้าหาตัวเซล เซลประสาทหนึ่งเซลจะมีเดนไดร์ตหลายอัน หรืออันเดียวก็ได้

เซลล์ประสาท แบ่งตามหน้าที่ออกได้เป็น 3 ชนิด 1. เซลล์ประสาทนำเข้า ( Sensory nerve) คือ เซลล์ประสาทที่นำกระแสประสาทจากภายนอกเข้าสู่ตัวเซลล์ บางครั้งอาจเรียกว่าเส้นประสาทรับรู้ 2. เส้นประสาทส่งออก ( Motor nerve) คือ เซลล์ประสาทที่นำกระแสประสาทจากศูนย์กลาง คือ สมองและไขสันหลัง ไปสู่ส่วนต่างๆของร่างกาย บางครั้งเรียกว่า เส้นประสาทกลไก 3. เส้นประสาทเชื่อมโยง (Connecting nerve) เป็นเซลล์ประสาทที่อยู่ระหว่างเซลล์ประสาทอื่นๆ 2 ตัว ทำหน้าที่ให้กระแสประสาทผ่านไปได้ ได้แก่ จุดประสานของเซลล์ประสาท ซึ่งเรียกว่า ซิแนปส์ (Synapse)

ระบบประสาทอัตโนมัติ ( Automatic nervous system) เป็นระบบประสาทที่ทำงานเป็นอิสระ อยู่นอกอำนาจจิตใจ โดยทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของอวัยวะภายในร่างกายให้อยู่ในสภาพปกติ ระบบประสาทอัตโนมัติ แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ระบบประสาทซิมพาเทติก เป็นเส้นประสาทที่แยกออกจากไขสันหลังระดับอก และ เอว ทำหน้าที่เกี่ยวกับงานที่เกิดขึ้นในทันทีทันใด หรือ ขณะตื่นเต้นตกใจ เช่น ในการต่อสู้กับศัตรู การทำงานเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน หรือ ในระยะที่มีการป่วยไข้ ทำให้หัวใจเต้นเร็ว ม่านตาขยาย เป็นการเตรียมพร้อมที่จะพบสภาพต่างๆที่ร่างกายได้รับความกระทบกระเทือน (รำแพน พรเทพเกษมสันต์ ,2529 :126) ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก ทำหน้าที่เกี่ยวกับการสร้างและการสะสมพลังงาน ไม่ใช่การใช้พลังงานอย่างประสาทซิมพาเทติก จึงทำงานตรงข้ามกับประสาทซิมพาเทติก เช่น ผลต่อหัวใจ ทำให้หัวใจเต้นช้าลง ทางเดินอาหารเคลื่อนไหวเพิ่มขึ้น เพื่อการย่อยและการดูดซึม รูม่านตาแคบลง ทั้งหมดนี้เป็นการสะสมพลังงานไว้ใช้ในยามจำเป็นและรีบด่วน (พริ้มเพรา ผลเจริญสุข, 2522:76)