1. Epistemology ญาณวิทยา - what and How ในการวิเคราะห์ และการสังเคราะห์สังคม 2. ทัศนะอันหลากหลายของความหมาย social Analysis and synthesis 2.1 การวิเคราะห์หมายถึง การค้นหาสาเหตุ (cause) Monoeause = การลงทุน ประชาชนมีรายได้เพิ่มขี้น Multicausc = ลงทุน X การเพิ่มเทคโนโลยี X การศึกษาและพัฒนาบุคคล ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ภายใต้เงื่อนไขบรรยายการ เป็นประชาธิปไตย Multicausc X Codition = ลงทุน X การเพิ่มเทคโนโลยี X การศึกษาและ พัฒนาบุคคล ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้น ภายใต้ เงื่อนไขบรรยากาศเป็นประชาธิปไตย
2.2 . การวิเคราะห์และสังเคราะห์ ความหมายคือการดูเบื้องหลัง ดูสิ่งที่อยู่เบื้องหลังปรากฏการณ์หนึ่ง ๆเช่น โง่ยังกะเด็กเลี้ยงควาย ความจริง เด็กเลี้ยงควายมีความรับผิดชอบสูง ต้องดูแลควายซึ่งมีคุณค่าต่อชีวิตชาวนาเป็นอย่างมากดูเบื้องหลัง มิใช่ดูสาเหตุ แต่จะใช้มากกับวิธีคิด ที่เราเชื่อว่าสิ่งต่างๆ ที่ปรากฏออกมาสู่สายตาภายนอกนั้น เป็นปรากฏการณ์ (phenomena) มันเป็นรูปแบบ (form) แต่เบื้องหลังนั้นจะต้องมีสิ่งที่เป็นแก่นสาร(essence) หรือต้องมีเนื้อหา คุณค่า (content,value) เพราะฉะนั้น จะต้องเข้าใจการกระทำที่มีลักษณะการใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Action) เช่น พิธีมิสซา การหักขนมปัง แต่มีความหมายเชิงสัญลักษณ์ คือ การแบ่งปัน 2.3 . การวิเคราะห์เพื่อการปลุกจิตสำนึก โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์ - สังเคราะห์นั่นเอง สามารถ ใช้เป็นเครื่องมือในการปลุกจิตสำนึก มนุษย์ทุกวันนี้ทำอะไรขาดสำนึก เช่น เรามักจะได้ยินเด็กถามว่าทำไม ทำไมในเรื่องต่าง ๆ แสดงว่าเด็กสนใจ อยากรู้ มีจิตสำนักในเรื่องนั้น จึงเป็นมนุษย์เจ้าปัญหา ก็เพราะมีจิตสำนึกอยากรู้ เรียกว่ามนุษย์รู้จักตั้งคำถาม ปัจจุบันมนุษย์รู้แต่การตอบคำถาม นักเรียน นักศึกษา รู้แต่การตอบข้อสอบ การหาทางแก้ไขหาไปเรื่อย ๆ (ยกตัวอย่าง เก้าอี้ 1 ตัว อยู่กลางห้อง) -เกี่ยวกับโครงสร้างอำนาจ ใครจะเป็นคนนั่ง จะต้องตั้งคำถามแปลก ๆ
- เกี่ยวข้องกับโครงสร้างอำนาจว่า ใครจะเป็นคนนั่ง เพราะฉะนั้นจะต้องตั้งคำถามแปลก ๆ When I give food to the poor. The call me a saint. When I ask why the poor have no food. They call me a communist. 2.4 การวิเคราะห์คือการแยกแยะองค์ประกอบของสิ่งต่าง ๆ ออกมาเป็นชิ้นส่วน(parts) เช่น การเปิดเครื่องยนต์ก็จะเห็นชิ้นส่วนต่าง ๆ เช่น คำว่า ความสัมพันธ์ (Relationship) เป็นค่าสำคัญที่สุดในสังคมศาสตร์ เป็นนามธรรมต้องคิด ใช้การพิจารณาไตร่ตรองจึงต้องใช้การวิเคราะห์-สังเคราะห์จึงจะเข้าใจสิ่งนี้ได้ (นักวิชาการใช้ ตีออกมาเป็นความสัมพันธ์เชิงเลขาคณิต ) แต่ชาวบ้าน ใช้สัญลักษณ์เป็นรูปต้นไม้ บ้าน ไม่ว่าจะเป็นอะไร เป้าหมายและหลักการ ก็คือ การแสดงความ สัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบย่อย ๆ นั้นเอง
3. การวิเคราะห์และสังเคราะห์เป็นวิธีการคิดในระดับหนึ่ง ระบบคิดอาจแบ่งเป็นตามวิถีชีวิตของคน ทุกวันจะมีลักษณะเช่นนี้ ขั้นที่ 1 การรู้จัก (to know) - มันคืออะไร ขั้นที่ 2 การเข้าใจ (to comprehend) - เมื่อคืนนอนไม่หลับจึงมานอนในห้องทำงาน ขั้นที่ 3 การประยุกต์ (to apply) แครอทแทนมะละกอ ขั้นที่ 4 การวิเคราะห์ (to analysis) ขั้นที่ 5 การสังเคราะห์ (to synthesis) ขั้นที่ 6 การตัดสิน วินิจฉัย (to judge) การประเมินค่าแก่สิ่งใด ดี / เลว ชอบไม่ชอบหลังผ่าน กระบวนการมาแล้ว - ปัญหาของชาวบ้านเราเข้าไม่ถึง เพราะมันเป็นรูปของการต่อของเล่น jigsaw โดยทั่วไประบบคิด เราถูกฝึกเป็นแบบแยกส่วน จึงไม่เห็นความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ - ตัวอย่างคนสมัยก่อน ทราบความสัมพันธ์ ระหว่าง พระอาทิตย์ แสงสว่าง และระยะเวลา
- การวินิจฉัยของแพทย์ บอกว่าเป็นโรคอะไร? - การวินิจฉัยของแพทย์ บอกว่าเป็นโรคอะไร? ท้ายทอย ปวดตรงไหน ปวดแบบไหน การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ ปวดหัว ตุ๊บ ๆ ปวดเวลาไหน เวลาคิดมาก
เชื่อมต่อปฏิสัมพันธ์ของ องค์ประกอบต่าง ๆ ภายใน คิดเป็นกระบวนการ ต้องมองเห็นว่าระบบทับซ้อน อย่างไม่มีที่ติ System Thinking จะต้องจับความสัมพันธ์หรือ ปฏิสัมพันธ์ให้ได้ คิดแบบสัมพันธ์กับบริบท หน้า 87
System Thinking หรือวิธีคิดเชิงกระบวนระบบเป็นรากฐานของ Chaos Theory and Complexity Theory ทั้งสองทฤษฎีถือเป็น New Science ในศตวรรษที่ 21 คือ วิทยาศาสตร์ใหม่ ได้กลับเข้ามามีความสัมพันธ์กับ ภูมิปัญญาดั้งเดิมของความรู้ กชกร ชิณะวงศ์ บรรณาธิการ.2544. กระบวนการเชิงสร้างสรรค์ : คืนพลังสู่ชุมชน กรุงเทพฯ : สถาบันการเรียนรู้และพัฒนาประชาคม. หน้า 85