วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ EG 3 กันยายน 2551
1 กระแสสลับ
กระแสสลับแบบ sinusoidal แหล่งกำเนิดกระแสไฟฟ้าแบบสลับ generator สัญลักษณ์ของแหล่งกำเนิด แรงเคลื่อนไฟฟ้ากระแสสลับ ศักย์ไฟฟ้าในวงจรกระแสสลับ (เฟส)
2 ตัวความต้านทานในวงจรกระแสสลับ ใช้กฎของโอมห์ และกฎของ เคอร์ชอฟฟ์ พบว่า
3 เฟสเซอร์ อัตราเร็วเชิงมุม - คงตัว เฟสเซอร์ = เว็กเตอร์หมุน บนระนาบเชิงซ้อน อัตราเร็วเชิงมุม - คงตัว ระนาบเชิงซ้อน เลขเชิงซ้อน y(t) x(t) ในรูปแบบเชิงมุม
เฟสเซอร์ของวงจรตัวต้านทาน - ศักย์ไฟฟ้าของตัวต้านทานมีเฟสตรงกับ แหล่งกำเนิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า - แสดงว่า กระแส และศักย์ไฟฟ้าของ ตัวความต้านทาน “มีเฟสตรงกัน”
4 วงจรตัวเก็บประจุ เมื่อปิดสวิชท์ S จะมีกระแส ไฟฟ้า i ไหลในวงจร จากกฎของเอคร์ชอฟฟ์ และ กฎของโอมห์ พบว่า กำหนดให้ เนื่องจากว่า
ดังนั้น ศักย์ไฟฟ้าของตัวเก็บประจุมีเฟสตามหลังกระแสไฟฟ้าด้วยมุมเฟส เฟสเซอร์
กราฟแสดงการมีเฟสตาม 90o ของ vC
สรุป กำหนดให้ Capacitive resistance กฎของโอมห์ กฎของเคอร์ชอฟฟ์ อิมพิแดนซ์ (เชิงซ้อน)
เราจะได้คำตอบว่า สังเกตว่า เมื่อ
High-pass and Low-pass filters
ตัวอย่าง กำหนดให้ ให้คำนวณกระแส และมุมต่างเฟสระหว่างกระแสกับแหล่งกำเนิด แรงเคลื่อนไฟฟ้า จากวงจร
เขียน เฟสเซอร์ของวงจร
5 วงจรตัวเหนี่ยวนำ เมื่อปิดสวิชท์ S จะมีกระแสไฟฟ้า i ไหลในวงจร กฎของเคอร์ชอฟฟ์ กฎของโอมห์ กำหนดให้ ดังนั้น
ดังนั้น ศักย์ไฟฟ้าของตัวเหนี่ยวนำมี “เฟสนำ” กระแสฟ้าด้วยมุมเฟส กำหนดให้ สรุป
เฟสเซอร์ กราฟการนำเฟส สังเกตว่า เมื่อ
ตัวอย่าง กำหนดให้ ให้คำนวณกระแส i(t) ในวงจร และมุมต่างเฟสระหว่างกระแสกับแหล่งกำเนิด แรงเคลื่อนไฟฟ้า จากรูป
ดังนั้น กระแสไฟฟ้ามีเฟสตาม 31.1o
6 วงจรแกว่งกวัดแบบ LC เมื่อปิดสวิชท์ S ไปที่ a ตัวเก็บประจุจะถูกจุประจุจนเต็ม เมื่อปิดสวิชท์ S ไปที่ b ตัวเก็บประจุจะคายประจุผ่าน ตัวเหนี่ยวนำ L กระแส ไฟฟ้า i(t) กฎของเคอร์ชอฟฟ์ พบว่า “การแกว่งกวัด” (เอกลักษณ์เฉพาะ)
เขียน ตัวอย่างเช่น กำหนดให้
วงจรแกว่งกวัดแบบลดทอน r คือความต้านทานภายใน ของตัวเหนี่ยวนำ เมื่อปิดสวิชท์ไปที่ a และ b พบว่า Damped oscillation
จากข้อมูลของ damped oscillation โดยที่ และ เมื่อ