ทฤษฎีการเรียนรู้เชิงประสบการณ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
การเขียน ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา อาจารย์สมพงษ์ พันธุรัตน์
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
การจัดกิจกรรม สำหรับพ่อแม่เด็กอายุ 0 – 5 ปี
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
แนวคิดการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2544
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ชุดมินิคอร์ส
การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นพื้นฐาน
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การวางแผนและการดำเนินงาน
หลักสูตรการจัดการทั่วไป
เป้าหมายของหลักสูตร/ การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวิจัย
ทฤษฎีพัฒนาการของ Piaget (Piaget’s Theory of Cognitive Development)
( Theory of Multiple Intelligences ) Gardner (การ์ดเนอร์)
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
เครื่องมือช่วยในการจับประเด็น รวบรวมความคิดให้เป็นหมวดหมู่
(Individual and Organizational)
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
ทักษะการตัดสินใจ นัทธี จิตสว่าง 28 มีนาคม 2553.
การวัดประเมินผลแบบดั้งเดิม
นักวิจัย กับ แนวทางการมีส่วนร่วมในการทำวิจัย
การพัฒนาระบบการเรียนการสอน
การวัดผล (Measurement)
ปัญหาการวิจัย โดย ดร.วรรณะ บรรจง.
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
แนวคิดจากกิจกรรมเลือกสัตว์
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
ทักษะการคิดวิเคราะห์
เทคนิคการจัดเวทีประชาคม
หลักการแก้ปัญหา
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
การกำหนดโจทย์วิจัย/ปัญหาการวิจัย (Research problem )
สิ่งดีๆจากการทำงานแผน
บทที่ 11.
การพัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
บทบาทสมมติ (Role Playing)
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
นายณัฐวุฒิ ปานแก้ว รหัส 039 คอม ปวช 1/2
ผู้วิจัย นางสาวพิลาวรรณ พิริยะโภคัย
คำอธิบายรายวิชา ศึกษา วิเคราะห์ในเรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส จำนวนตรรกยะ จำนวนอตรรกยะ รากที่สอง รากที่สาม การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวและการนำไปใช้
วิธีสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบสืบสวนสอบสวน
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ลักษณะโครงการวิจัยที่ดี
 ผู้วิจัย นายชัช อุ่น บุญธรรม  สังกัด วิทยาลัย เทคโนโลยีศรีธนา พณิชยการ เชียงใหม่
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
วิธีสอนแบบอุปนัย.
สรุปวิธีสอนที่ใช้ในการฝึกอบรม
นางสาวพิชญาภา อิ่มประไพ วิทยาลัยเทคโนโลยีเมืองชลบริหารธุรกิจ (MBAC)
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์หมายถึงอะไร
ผู้วิจัย อาจารย์สมเกียรติ ขำสำราญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทฤษฎีการเรียนรู้เชิงประสบการณ์ Experiential Learning ทฤษฎีการเรียนรู้เชิงประสบการณ์

ความหมาย ขอบข่ายความหมายของคำว่าการเรียนรู้จาก ประสบการณ์กว้างขวางมาก ทั้งในทางปฏิบัติและทฤษฎี ต่างมี มุมมองที่สอดคล้องกับสถานการณ์ที่แต่ละคนเผชิญอยู่ใน ชีวิตประจำวัน ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่า “การเรียนรู้จาก ประสบการณ์ (Experiential Learning) คือกระบวนการสร้าง ความรู้ ทักษะ และเจตคติด้วยการนำเอาประสบการณ์เดิมของ ผู้เรียนมาบูรณาการเพื่อสร้างการเรียนรู้ใหม่ ๆ ขึ้น”

ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการ งานของโคล์บและฟราย (Kolb and Fry. 1971 ; 1975 ; 1984) ก็เป็นที่นิยมใช้อ้างอิงถึงในการ อภิปรายถึงประเด็นการเรียนรู้จากประสบการณ์ โคล์บ และ ฟราย (Kolb and Fry. 1975) ระบุในผลการวิจัยว่า ขณะที่ผู้ใหญ่เกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์ตามรูปแบบ การเรียนรู้ที่ตนถนัด และการเรียนรู้ก็จะเริ่มจากจุดนั้น แต่ ผู้ใหญ่ก็จะใช้รูปแบบการเรียนรู้หลาย ๆ รูปแบบแม้ว่าจะ ไม่มากหรือได้ผลเท่ากับแบบที่ตนเองถนัด

กระบวนการเรียนรู้จากทฤษฎีการเรียนรู้จากประสบการณ์

ขั้นที่ 1 ประสบการณ์รูปธรรม เป็นขั้นตอนที่ผู้เรียนมีประสบการณ์ ต่างๆ เน้นการใช้ความรู้สึกและยึดถือสิ่งที่เกิดขึ้นจริงตามที่ตน ประสบในขณะนั้น ขั้นที่2 การไตร่ตรองเป็นขั้นตอนที่ผู้เรียนมุ่งที่จะทำความเข้าใจ ความหมายของประสบการณ์ที่ได้รับโดยการสังเกตอย่าง รอบคอบเพื่อการไตร่ตรองพิจารณา

ขั้นที่ 3 การสรุปเป็นหลักการนามธรรม เป็นขั้นที่ผู้เรียน ขั้นที่ 4 การทดลองปฏิบัติจริง เป็นขั้นตอนที่ผู้เรียนนำ เอา ความเข้าใจที่สรุปได้ในขั้นที่ 3 ไปทดลองปฏิบัติจริง เพื่อ ทดสอบว่าถูกต้องหรือขั้นตอนนี้เน้นที่การประยุกต์ใช้

แนวความคิดจากทฤษฎีของ Kolb

1. แบบคิดอเนกนัย หรือ Diverges หมายถึง รูปแบบการเรียนที่ เน้นขั้นตอนการเรียนรู้ขั้นที่ 1 และขั้นที่ 2 เป็นแบบที่ผู้เรียนมี ความสามารถในการรับรู้ และการสร้างจินตนาการต่างๆ ขึ้นเอง สามารถไตร่ตรองจนมองเห็นภาพโดยส่วนรวม ผู้เรียนที่ มีรูปแบบการเรียนแบบนี้จะทำงานได้ดีในสถานการณ์ที่ต้องการ ความคิดหลากหลาย เช่น การระดมสมอง

Grounded theory of media selection.. E-Pedagogy: Project-Based Learning 4/4/2017 Grounded theory of media selection.. Assist. Prof. Dr. Jintavee K.

2. แบบดูดซึม หรือ Assimilators หมายถึง รูปแบบการ เรียนที่เน้นขั้นตอนการเรียนรู้ขั้นที่ 2 และขั้นที่ 3 เป็นรูปแบบการ เรียนที่ผู้เรียนมีความสามารถในการสรุปหลักการหรือกฎเกณฑ์ ผู้ เรียนที่มีรูปแบบการเรียนแบบนี้มักสนใจในหลักการที่เป็นนามธรรม มากกว่าแต่ไม่ชอบการลงมือปฏิบัติและมักไม่คำนึงถึงการนำทฤษฎี ไปประยุกต์ใช้

3. แบบคิดเอกนัย หรือ Convergers หมายถึง รูปแบบ การเรียนที่เน้นขั้นตอนการเรียนรู้ขั้นที่ 3 และขั้นที่ 4 เป็นรูปแบบ การเรียนที่ผู้เรียนมีความสามารถในการนำความคิดที่เป็น นามธรรม ไปใช้ในการปฏิบัติ ผู้เรียนที่มีรูปแบบการเรียนแบบนี้สามารถสรุป วิธีที่ถูกต้องที่สุดเพียงวิธีเดียวที่จะสามารถนำไปใช้ในการแก้ปัญหา ได้ ไม่ชอบใช้อารมณ์ในการแก้ปัญหาแต่ใช้เหตุผล ชอบทำงานกับ วัตถุมากกว่างานกับบุคคล มักมีความสนใจที่เฉพาะเจาะจงใน สิ่งใดสิ่งหนึ่ง และมีความเชี่ยวชาญในสิ่งนั้น

4. แบบปรับปรุง หรือ Accommodators หมายถึง รูป แบบการเรียนที่เน้นขั้นตอนการเรียนรู้ขั้นที่ 4 และขั้นที่ 1 ผู้เรียนที่ มีรูปแบบการเรียนแบบนี้จะชอบลงมือปฏิบัติ ชอบทดลอง และจะ ทำงานได้ดีในสถานการณ์ที่ต้องใช้การปรับตัว มีแนวโน้มจะแก้ไข ปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยวิธีการที่ตนนึกคิดขึ้นเองในลักษณะที่ชอบลอง ผิดลองถูก และชอบทำงานร่วมกับผู้อื่น (Kolb, Rubin, & Osland, 1991: 23-40)

E-Pedagogy: Project-Based Learning 4/4/2017 Assist. Prof. Dr. Jintavee K.

คำถาม 1.ใครเป็นคนคิดค้นทฤษฎีการเรียนรู้แบบ Experiential Learning 2.กระบวนการการเรียนรู้ของทฤษฎีการเรียนรู้แบบ Experiential Learningมีกี่ขั้นตอน และอะไรบ้าง 3.ความหมายของคำว่า “Experiential Learning ” 4.แนวคิดแบบเอกนัยจะเน้นในเรื่องใด 5.แนวคิดใดที่มุ่งเน้นรูปแบบการเรียนที่เป็นนามธรรมมากกว่าการลง มือปฏิบัติ

นางสาวจันจิรา นาหนองตูม เลขที่ 32 นางสาวนารีรัตน์ มาตรา เลขที่ 33 จัดทำโดย นางสาวจันจิรา นาหนองตูม เลขที่ 32 นางสาวนารีรัตน์ มาตรา เลขที่ 33 นางสาวรัตนาภรณ์ วงศ์กาฬสินธ์ เลขที่ 41 นางสาวสุพัตรา อรรคศรีวร เลขที่ 62 สาขาภาษาอังกฤษ กลุ่ม 3 คณะศิลปะศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม