เมตาคอกนิชัน(Metacognition)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มุ่งพัฒนาสู่การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงในสถานศึกษา
Advertisements

สรุปภาพรวมของหน่วยการเรียนรู้
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
การบวกจำนวนสองจำนวนที่มีผลบวกไม่เกิน 9
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
ER 2104 หลักการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 3(3-0)
กระบวนการวิจัย(Research Process)
รศ. ดร. สมศักดิ์ คงเที่ยง
ขั้นตอนในการทำวิจัย.
การออกแบบการวิจัยการเขียนเค้าโครงการวิจัย
รายงานการวิจัย.
Thesis รุ่น 1.
ระดับขั้นจุดประสงค์การเรียนรู้ของ Bloom
งานนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน Joseph Jacobs
อธิบายแนวคิดการจัดทำโครงงานในประเด็นต่อไปนี้
ภาพรวมของแนวคิดโครงงาน
 การสอนแบบอภิปราย.
การจัดการเรียนรู้โดยการใช้ชุดมินิคอร์ส
หลักการพัฒนา หลักสูตร
การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ (Software design and development) 4 (3-2-6)
การดำเนินงานสุขศึกษา ในชุมชน
การวางแผนและการดำเนินงาน
Objective Analysis การวิเคราะห์วัตถุประสงค์
การติดตาม และประเมินโครงการ.
รศ. ดร. สุนีย์ เหมะประสิทธิ์
Cognitive Development
การเขียนโครงการ.
“Backward” Unit Design?
โครงร่างการวิจัย (Research Proposal)
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
กระบวนการวิจัยเชิงประเมิน
แนวคิด หลักการ ของการประเมินเพื่อการพัฒนา
สะท้อนประสบการณ์ / ถอดบทเรียน
สิ่งที่จะเรียนรู้ในวันนี้
การสอนแบบบรรยาย-อภิปราย
ตาม พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542
ใบความรู้ เรื่อง...การทำโครงงาน
การสร้างข้อสอบ ตามแนวการวัดใน PISA
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
หน่วยที่ 1 ความหมายและความสำคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)
การเขียนเกณฑ์การประเมิน (Rubric)
หลักสูตรพัฒนาความสามารถในการสร้างเครื่องมือ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
กลวิธีการสอนคณิตศาสตร์ระดับประถมศึกษา
ลักษณะข้อสอบการอ่าน PISA 2009.
ผู้อำนวยกลุ่มการเรียนรู้ (Learning Facilitator)
แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบ การสอนแบบโครงงาน/โครงการ
สารานุกรมการศึกษา (The Encyclopedia of Education) ให้ความหมายไว้ว่า คือ “การจัดการสืบค้นอย่างมีระบบเกี่ยวกับการศึกษาและผลผลิตที่ได้รับจากการศึกษา”
การประเมินพัฒนาการทางภาษาตามแนวสมดุลภาษา
การวัดทางด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain)
ความหมาย รูปแบบหนึ่งของบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนซึ่ง มีการออกแบบบทเรียน โดยมีเป้าหมายที่จะเสนอ ข้อคำถามในรูปแบบต่าง ๆเพื่อให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติ
การสอนโดยการแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
การเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม
การสอนแบบโครงงาน ขจิต ฝอยทอง คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
Backward Design โดย อาจารย์ประจำวิชาฟิสิกส์ชั้นปีที่ ๓
ให้โอกาสผู้เรียนมีส่วนร่วมรับผิดชอบ สร้างความมีวินัย การตรงต่อเวลา
แบบทดสอบ คือ... ชุดของข้อคำถามที่สร้าง ขึ้นเพื่อใช้วัดความรู้ สติปัญญา ความถนัด และ บุคลิกภาพของบุคคล โดย บุคคลนั้นจะตอบสนองโดย การแสดงพฤติกรรมใน รูปแบบต่างๆ.
The ASSURE Model การใช้สื่อการสอนอย่างเป็นระบบ โดยใช้แบบจำลอง
Theories of Innovation and Information Technology for Learning
อบรมปฏิบัติการ จัดทำหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
การออกแบบสื่อเพื่อการศึกษา ADDIE Model
IDS 3901 ค้นคว้าวิจัยงานออกแบบ. บทที่ 1 บทนำ 1. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา เนื้อหาในส่วนนี้มาจากข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวกับ เรื่องที่จะทำ ประวัติความเป็นมาของตัวสินค้าหรือตัว.
กระบวนการ การออกแบบการเรียนการสอน แนวคิดสำคัญ เริ่มจากการคิดทุกอย่างให้จบสิ้น จึงเริ่มต้นจากปลายทางที่ ผลผลิตที่ต้องการ เป็นหลักฐาน พยานแห่งการเรียนรู้
แนวทางพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย
ตัวอย่าง การเขียนโครงการ
เทคนิควิธีในการจัดการเรียนการสอน
การสอนแบบอภิปราย และการสอนแบบนิรนัย
เรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม
วิธีสอนแบบแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เมตาคอกนิชัน(Metacognition) โดย ผศ.ดร.ประยูร บุญใช้

กระบวนการควบคุมการรู้คิด (metacognition) ท่อง ตอบ สนอง กลวิธี ความใส่ใจ การรับรู้ ความจำ ระยะยาว (Long Term Memory) ความจำระดับ ประสาทสัมผัส (Sensory Memory) ความจำ ระยะสั้น (Short Term Memory) ท่อง สิ่งเร้าภายนอก ลงรหัส เรียกคืน สูญหาย สูญหาย ลืมแต่ยัง เรียกคืนได้ ทฤษฏีประมวลผลข้อมูล (Klausmeier)

ความหมายของเมตาคอกนิชัน (Metacognition) “การควบคุมและประเมินการคิดของตนเอง ความสามารถของบุคคลที่ได้รับการพัฒนาเพื่อควบคุม กำกับกระบวนการทางปัญญาหรือกระบวนการคิด มีความตระหนักในงานและสามารถใช้ยุทธวิธีทำงาน จนสำเร็จอย่างสมบูรณ์”

ความรู้ในเมตาคอกนิชัน (Metacognitive knowledge) ความรู้ในเมตาคอกนิชัน หมายถึง ธรรมชาติของความรู้ กระบวนการเรียนรู้ ลักษณะการเรียนรู้ของบุคคล ยุทธวิธีการเรียนรู้

การควบคุมเมตาคอกนิชัน (Metacognitive control) การควบคุมเมตาคอกนิชัน หมายถึง ธรรมชาติของการตัดสินใจกิจกรรม ทางปัญญา วิธีการควบคุมการคิดและ การเรียนรู้ของตน

ความตระหนักในเมตาคอกนิชัน(Metacognitive awareness) ความตระหนักในเมตาคอกนิชัน หมายถึง การมีสติว่าคิดอะไร ทำอะไร ประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ด้าน 1. ความรู้ตนเอง (Declarative knowledge) หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับตนเอง ในฐานะผู้เรียนรู้ และรู้เกี่ยวกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของตน 2. ความรู้กระบวนการ (Procedural knowledge) หมายถึง ความรู้ เกี่ยวกับทักษะด้านกระบวนการ 3. ความรู้เงื่อนไข (Conditional knowledge) หมายถึง ความรู้ว่าเวลาใด และเหตุผลใดที่จะใช้ความรู้ตนเองและความรู้กระบวนการ

องค์ประกอบของเมตาคอกนิชัน 1. การวางแผน (Planning) 2. การกำกับ (Regulation) 3.การประเมิน (Evaluation)

การพัฒนาเมตาคอกนิชัน ยุทธวิธีพื้นฐานของเมตาคอกนิชัน 1. การเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม 2. การเลือกยุทธวิธีการคิดอย่างพิถีพิถันและรอบคอบ 3. วางแผนกำกับหรือตรวจสอบ และประเมินกระบวนการคิด

ยุทธวิธีที่ใช้พัฒนาเมตาคอกนิชัน 1. ระบุว่าเรารู้อะไร เราไม่รู้อะไร 2. สนทนาหรืออภิปรายเกี่ยวกับการคิด 3. การเขียนอนุทินเกี่ยวกับการใช้ความคิดหรือการคิด 4. การวางแผนและการกำกับตนเอง 5. สรุปกระบวนการคิดที่ใช้เมื่อทำกิจกรรมเสร็จแล้ว 6. การประเมินผลตนเอง

การพัฒนาเมตาคอกนิชันในการอ่าน หลักการพัฒนาเมตาคอกนิชันในการอ่าน 1. การใส่ใจกับการอ่าน 2. การจัดเตรียมและวางแผนการอ่าน 3. การประเมินผลการอ่าน

ยุทธวิธีในการฝึกผู้เรียนเพื่อพัฒนาเมตาคอกนิชันในการอ่าน 1. สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของการอ่าน 2. ให้ผู้เรียนตั้งจุดประสงค์ในการอ่านแต่ละครั้ง 3. ให้ผู้เรียนรู้จักตั้งคำถามถามตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่อ่าน 4. ให้ผู้เรียนตั้งสมมุติฐานเกี่ยวกับสิ่งที่อ่าน 5. ฝึกให้ผู้เรียนรู้จักสรุปเนื้อหาที่อ่านโดยใช้ภาษาของตน

6. ฝึกให้ผู้เรียนสร้างจินตภาพเกี่ยวกับสิ่งที่อ่าน 7. การทำนายเนื้อหาที่อ่าน 8. การทำเครื่องหมายเพื่อเน้นจุดสนใจในขณะอ่าน 9. การจัดลำดับความสำคัญของประโยค 10. ให้ผู้เรียนรู้จักตอบสนองต่อสิ่งที่อ่าน

การพัฒนาเมตาคอกนิชันในการแก้โจทย์ปัญหา ยุทธวิธีในการฝึกผู้เรียนเพื่อพัฒนาเมตาคอกนิชันในการแก้โจทย์ปัญหา ขั้นที่ 1 การฝึกให้ผู้เรียนรู้จักวางแผน 1. ฝึกให้ผู้เรียนวิเคราะห์เป้าหมาย 2. ฝึกให้ผู้เรียนใช้ยุทธวิธีต่าง ๆ ในการแก้ปัญหา 2.1 ยุทธวิธีเดาและตรวจสอบ 2.2 ยุทวิธีวาดภาพ 2.3 ยุทธวิธีสร้างตาราง

2.4 ยุทธวิธีสร้างรายการ 2.5 ยุทธวิธีเขียนแผนภาพ 2.6 ยุทธวิธีใช้การให้เหตุผล 2.7 ยุทธวิธีค้นหาแบบแผน 2.8 ยุทธวิธีแก้ปัญหาที่ง่ายขึ้นกว่าเดิม 2.9 ยุทธวิธีทำย้อนกลับ 3. เรียงลำดับขั้นตอนตามยุทธวิธีที่ได้เลือกไว้ 4. ประมาณคำตอบที่คาดว่าจะได้

ขั้นที่ 2 การฝึกให้ผู้เรียนสามารถกำกับ ควบคุมและตรวจสอบ ความคิดของตนเองได้ 1. กำหนดเป้าหมายไว้ในใจ 2. กำกับวิธีการต่างๆ ให้เป็นไปตามขั้นตอนของยุทธวิธีที่ได้เลือกไว้ ขั้นที่ 3 การฝึกให้ผู้เรียนสามารถประเมินความคิดของตนเองได้ 1. ประเมินความสำเร็จตามเป้าหมาย 2. ตรวจสอบคำตอบ 3. ตรวจสอบขั้นตอนในการปฏิบัติ

สวัสดี