ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ กุมารแพทย์และจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เพราะความเป็นห่วง.
Advertisements

นิยามแห่งการลืมเลือน
ช่วยลูกเตรียมพร้อม... พ.ญ.นัทธ์ชนัน จรัสจรุงเกียรติ
วันนี้เรามาลองสมมุติกันค่ะ
แม่กินน้อง วันหนึ่งสองแม่ลูกนั่งคุยกัน ลูกกำลังน่ารักพูดจาฉอเลาะ กำลังอยู่ในวัยอยากรู้ อยากเห็น เป็นเด็กฉลาด ขนาดอายุ 5-6 ขวบ แม่ก็กลัวลูกที่ซุกซนจะเหงา.
นางสาวเบญญาสิริ แก้วเบี่ยง
ถ้าไม่นับการร้องไห้ที่มาจากความปิติ "
การแท้ง จงผ่อนคลายและพิจารณา Music: Pink Floyd’s Celestial Voices.
เรื่อง น่าคิด.
จดหมาย ทารก ถึงมารดา.
สนุกกับชนิดของคำไทย ไปกับ อ. พัชรินทร์ พึ่งเนตร
นิทาน เรื่อง คุณยายพยาบาล
You Have Two Choices 1.
ชนิดของคำในภาษาไทย คำในภาษาไทย มี ๗ ชนิด ได้แก่ คำนาม คำสรรพนาม
คำว่ารู้สึกผิด คุณเจะนะฮ์ สะอิ
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
คำถาม พระหรรษทาน-บาป.
แนวทางการดูแลผู้ป่วยสมองเสื่อม
เป็นเรื่องสั้นๆ แต่ก็ช่วยเตือนสติได้ดี
มันอะไรน่าเสียใจที่สุด
จัดทำโดย นางสมบัติ แตรไชย
ทีมรักนวลสงวนตัว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร์
การสร้างประสบการณ์ทางการฟัง
การสื่อสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การดูแลผู้ป่วยเด็กและครอบครัว
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เรื่อง พยางค์และคำ
ได้ซิจ๊ะแหม่ม ทำไมจะไม่ได้ล่ะ
คำกริยา.
ความคาดหวังของผู้เข้าร่วมประชุม
คำสรรพนาม.
กำแพงของหัวใจ.
มีเรื่องดี ๆ อยากให้อ่าน
คำวิเศษณ์.
เรื่อง แม่ยายเกลียดลูกสะใภ้
สำนวนชวนคิด รุ่งรักษ์ นุ่มไทย.
ปาร์เตลโล.
อย่าด่วนเชื่อ โดยฟังตามๆกันมา
คุณค่าความเป็นหญิงรู้จริงเรื่องปฏิเสธ
กลุ่มสาระภาษาไทย สำหรับช่วงชั้นที่ 2
พลังพ่อแม่...พลังครอบครัว
ทำไมคนจึงถือตน หรือยกตน
การใช้ภาษาและเทคโนโลยีสำหรับครู
ผมมี..ภรรยา 4 คน.
มุมมองเกี่ยวกับ “ความรัก”
นิทานภาพเคลื่อนไหว เรื่อง นกน่ารัก คลิกต่อไป.
น้ำตาของผู้หญิงคนหนึ่ง
CLICK TO ADVANCE SLIDES
เวลาเข้าใจความรัก Story by unknown author Music „Island Of Dreams”
บันทึกช่วยจำของ “เหลียงจี้จาง” (คุ้มค่าสำหรับการอ่านบทความนี้)
สุขกายเจริญวัย สุขใจเจริญสุขPhilosophy for Old Age
กาลครั้งหนึ่งนานมาแล้วมีลูกหมูสามตัวเป็นพี่น้องกันพวกมันออกเดินทางเพื่อจะหาที่สร้างบ้านคนละหลังและเดินทางมาถึงชายป่าแห่งหนึ่ง พวกมันตัดสินใจจะสร้างบ้านบริเวณนี้ใกล้ๆ.
อินเตอร์เน็ตกับครูภาษาอังกฤษ บทสัมภาษณ์ครูสอนภาษาอังกฤษ จัดทำโดย
DISC เครื่องมือช่วยบริหารทีม.
สวัสดีครับ คุณครู สพป.อุบลราชธานี เขต ๑.
กิจกรรมเสริมสร้างทักษะชีวิต
คำบุพบท เป็นคำที่เขียนนำหน้าคำนาม คำสรรพนาม คำกริยา คำวิเศษณ์
เทคนิคการให้คำปรึกษาวัยรุ่น
ความหมายของการวิจารณ์
คำสรรพนาม จัดทำโดย ด.ช.ธนวัฒน์ เตชะนิรัติศัย เลขที่ 30
บันทึกสัมภาษณ์นักเรียน มัธยมศึกษาต้น สัมภาษณ์โดย พระปิยะณัฐ คุณวโร คณะครุศาสตร์ ชั้นปีที่ ๔ วิชาเอกการสอน ภาษาอังกฤษ สัมภาษณ์โดย พระปิยะณัฐ คุณวโร คณะครุศาสตร์
สักวัน ฉันก็ต้องแก่(เหมือนกัน) ฉันก็คงจะ....
ประโยคในการสื่อสาร จัดทำโดย ด.ช. อนันต์ ผลทับทิม เลขที่ ๔๓
“คำพูดคุณครู”.
นางสาวนิตย์ติญา ดวงใจ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
เทคนิคการให้คำปรึกษา
ผลกระทบของปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ ก่อนวัยอันควร
กิจกรรมการคิด.
กั บ ดั ก ห นู.
ตู้ปลาแห่งการให้อภัย
คุณค่าของสื่อ.
บทลงโทษด้วย ความรัก.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ กุมารแพทย์และจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น I – YOU Message ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ กุมารแพทย์และจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น

หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ การสื่อสาร คือกระบวนการถ่ายทอด ความรู้สึกนึกคิดและข้อมูลซึ่งกันและกัน ซึ่งสามารถส่งผลหลายประการคือ ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ศิริราชพยายบาล

หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ * ความเข้าใจ ความรู้สึกนึกคิด * สัมพันธภาพ * การเรียนรู้ * หนทางแก้ไขปัญหา * ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ศิริราชพยายบาล

หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ กระบวนการสื่อสาร สาร ผู้สื่อสาร ผู้รับสาร ผู้รับสาร ผู้สื่อสาร สาร ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ศิริราชพยายบาล

หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ สาร (Message) คือ ถ้อยคำที่เราใช้ในการสื่อสารกันในชีวิตประจำวันมี 3 ลักษณะ ดังนี้ ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ศิริราชพยายบาล

หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ 1. You Message (สารแบบ “เธอ”) ผู้พูดจะขึ้นต้นประโยคด้วยสรรพนามแทนคู่สนทนา เช่น คุณแม่, หนู , หมอ ฯลฯ ตามด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับคู่สนทนา ได้แก่ ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ศิริราชพยายบาล

หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ คำถาม คำสั่ง ตำหนิ, ต่อว่า วิจารณ์, กระทบกระเทียบ ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ศิริราชพยายบาล

หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ทำไมคุณแม่ ถึงเพิ่งจะพาลูกมาหาหมอเอาตอนนี้ หนู ต้องอยู่แต่บนเตียง ห้ามลงมาเดี๋ยวบวมอีกนะ ถ้าหมออยากได้เร็วๆก็มาช่วยกันหน่อยซิอย่ายืนเฉยๆ ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ศิริราชพยายบาล

หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ การสื่อสารในลักษณะนี้ ทำให้         ผู้ฟังไม่แน่ใจในความรู้สึกนึกคิดของผู้พูด  ผู้ฟังรู้สึกถูกตำหนิ ถูกดูถูก ถูกโจมตี เสียใจและเสียคุณค่าในตัวเอง (loss self-esteem) ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ศิริราชพยายบาล

หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ 2. He or They Message (สารแบบ “เขา”) เป็นลักษณะการสื่อสารที่ผู้พูด ไม่สื่อความรู้สึก/ความคิด/ความต้องการของตนเอง แต่กลับอ้างถึงผู้อื่น (บุรุษที่ 3) แทน เช่น ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ศิริราชพยายบาล

หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ไม่มีใครเขาปล่อยลูกไว้นานอย่านี้หรอก เด็กคนอื่นเขายังอยู่บนเตียงเฉยๆได้เลย ทุกคนก็อยากให้งานเสร็จเร็วทั้งนั้น แต่มันต้องช่วยกัน ใครๆเขาก็มีเวลาให้ลูกมากกว่านี้ ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ศิริราชพยายบาล

หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ การสื่อสารลักษณะนี้ ทำให้ผู้ฟังเกิดความรู้สึกถูกเปรียบเทียบ ไม่แน่ใจในความรู้สึกนึกคิดของผู้พูด และนำไปสู่การตีความหมายผิดได้ง่าย ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ศิริราชพยายบาล

หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ 3. I Message (สารแบบ “ฉัน”) ผู้พูดจะขึ้นต้นประโยคด้วยสรรพนามแทนตัวเอง เช่น ดิฉัน, พยาบาล, คุณ (พยาบาล)ฯลฯ ตามด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับตนเองได้แก่ * ความรู้สึกของผู้พูด * ความต้องการของผู้พูด ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ศิริราชพยายบาล

หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ตัวอย่าง ดิฉันอยากทราบเหตุผลที่คุณแม่ตัดสินใจพาลูกมาตอนนี้ พยาบาลกลัวว่าหนูจะบวมมากขึ้นเลยต้องให้หนูอยู่แต่บนเตียง หนูเกรงว่าจะช้าไป วานอาจารย์มาช่วยอีกแรงนะคะ ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ศิริราชพยายบาล

หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ You/He or They Message I Message 1.คุณอยู่กับลูกยังไงถึง ไม่รู้ว่าลูกมีไข้มากี่วันแล้ว 2. ทีหลังคุณแม่อย่าลืมเอายาลูกติดมาด้วยล่ะ ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ศิริราชพยายบาล

หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ You/He or They Message I Message 3. ครั้งก่อนทำไมคุณยายไม่พาหลานมาตามตรวจนัด 4. คุณพ่อเพิ่มยาให้ลูกเองอีกแล้ว บอกแล้วว่าไม่ให้เพิ่มยาเองก็ไม่เชื่อ พูดไม่รู้เรื่อง ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ศิริราชพยายบาล

หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ You/He or They Message I Message 5.(ผป.ALL กำลังให้chemotherapy) แม่ซื้ออาหารสกปรก(ส้มตำ)แบบนี้ให้ลูกกินได้ยังไง เดี๋ยวก็ท้องเสียหรอก ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ศิริราชพยายบาล

หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ You/He or They Message I Message 6.(เด็กร้องไห้ไม่ยอมให้แม่กลับบ้าน) ถ้าหนูยังไม่หยุดร้อง คุณจะไม่ให้แม่มาเยี่ยมอีกเลย 7. ห้าม(หนู)กินเค็มเด็ดขาด เข้าใจไหม? ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ศิริราชพยายบาล

หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ You/He or They Message I Message 8. หนูอย่าขี้เกียจเอาแต่นั่งๆ นอนๆ ไม่ได้นะ ต้องขยันทำกายภาพบำบัดมากกว่านี้ 9. หนูไปแอบกินอะไรหรือเปล่า ทำไมน้ำหนักถึงเพิ่มขึ้นมากอย่างนี้ ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ศิริราชพยายบาล

หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ You/He or They Message I Message 10. (กำลังแทงน้ำเกลือ) เด็กเตียงอื่นไม่เห็นมีใครร้องดิ้น เหมือนหนูเลย เดี๋ยวเส้นแตกไม่รู้นะ ผศ.นพ.ชาตรี วิฑูรชาติ หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมารฯ ศิริราชพยายบาล