Review of Ordinary Differential Equations

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
Advertisements

ENGINEERING MATHAMETICS 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง จำนวนเชิงซ้อน
อสมการ 1.1 อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แปลคำศัพท์สำคัญ Chapter 2 หัวข้อ 2. 1 – 2
คลิกที่นี่เพื่อเข้าชม
ลิมิตและความต่อเนื่อง
บทที่ 3 ลำดับและอนุกรม (Sequences and Series)
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
โครงสร้างทางคณิตศาสตร์และการให้เหตุผล (Mathematical Structure and Reasoning) Chanon Chuntra.
ความต่อเนื่องแบบเอกรูป (Uniform Continuity)
คณิตศาสตร์เพิ่มเติ่ม ค เรื่อง วงกลม โดย ครูนาตยา บุญเรือง
ความหมายของความสัมพันธ์ (Relation)
ลิมิตที่อนันต์และ ลิมิตค่าอนันต์
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
Tacoma Narrowed Bridge
บทที่ 4 การจำลองแบบทางคณิตศาสตร์
การทดลองและการเขียนรายงานผลการทดลองทางวิทยาศาสตร์
Engineering Problem Solving Program by Using Finite Element Method
ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Probability & Statistics
Simulation Fundamentals of AMCS.
Power Series Fundamentals of AMCS.
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
ความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ เป็นเซตของคู่อันดับ
การประยุกต์ใช้อนุพันธ์
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
ฟังก์ชัน ฟังก์ชันเป็นรูปแบบหนึ่งของความสัมพันธ์ แต่มีกฎเกณฑ์มากกว่า
CALCULUS III ส่วนที่ 2 : สมการเชิงอนุพันธ์ อาจารย์ ดร.เจษฎา ตัณฑนุช.
ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ เรื่อง ระบบสมการหลายตัวแปร
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
สมการเชิงอนุพันธ์อย่างง่าย
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
Application of Graph Theory
แคลคูลัส (Calculus) : ศึกษาเกี่ยวกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร หนึ่งเทียบกับตัวแปรอื่นๆ 1. ฟังก์ชัน เรากล่าวได้ว่า y เป็นฟังก์ชันของ x เมื่อมีความสัมพันธ์ระหว่าง.
ปฏิยานุพันธ์ (Integral)
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
INC341 State space representation & First-order System
พิจารณาโครงสร้างของฟังก์ชันที่นิยามโดยปริยายดังนี้
มิสกมลฉัตร อู่ศิริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
การหาปริพันธ์ (Integration)
Function and Their Graphs
บทที่ 4 การโปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
A point is an equilibrium point (critical point) for a
อสมการ (Inequalities)
สมการเชิงอนุพันธ์ย่อย สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระเพียงตัวเดียว เรียกว่า สมการเชิงอนุพันธ์ธรรมดา (ordinary differential equation) สมการเชิงอนุพันธ์ที่มีตัวแปรอิสระมากกว่า.
การแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
ค32213 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3 โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
การเขียนผังงาน.
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
Asst.Prof. Wipavan Narksarp Siam University
Asst.Prof.Wipavan Narksarp Siam University
วิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน รหัสวิชา ค ครูผู้สอน นางสาวสมใจ จันทรงกรด
ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียล
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
นางสาวอารมณ์ อินทร์ภูเมศร์
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
วงรี ( Ellipse).
อนุพันธ์ของฟังก์ชัน Derivative of function
แบบฝึกหัด จงหาคำตอบที่ดีที่สุด หรือหาค่ากำไรสูงสุด จาก
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
อนุพันธ์ของฟังก์ชันที่น่าสนใจ
เรื่องการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
Mathematical Model of Physical Systems. Mechanical, electrical, thermal, hydraulic, economic, biological, etc, systems, may be characterized by differential.
Ch 9 Second-Order Circuits
E D E,C 1 D E,C 1,C 2,C 3 D ตัวแปรต้น ตัวแปร ตาม ตัวแปรอิสระ แทนด้วย X X 1, X 2,... X k D ตัวอย่าง : X 1 = E X 4 = E*C 1 X 2 = C 1 X 5 = C 1 *C 2 X 3 =
ทบทวนการแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Review of Ordinary Differential Equations 2301520 Fundamentals of AMCS

สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ (ODE) คำนิยาม ให้ f(t) เป็นฟังก์ชันของ t บนช่วง (a,b) จะได้ว่า สมการอนุพันธ์ สามัญคือสมการที่เกี่ยวข้องกับ t, ฟังก์ชัน f(t), และอนุพันธ์ของ f(t) เรามักจะแทนฟังก์ชัน f(t) ด้วย y ใน ODE ตัวอย่าง

Linear Differential Equation ถ้าเขียนสมการเชิงอนุพันธ์แบบข้างบนไม่ได้เราจะเรียกว่าเป็นสมการเชิงอนุพันธ์ไม่ เชิงเส้น (non-linear differential equation)

Solution ผลเฉลย (Solution) ของสมการเชิงอนุพันธ์บนช่วง t∈(a,b) คือฟังก์ชัน y(t) ที่ทำให้สมการเชิงอนุพันธ์ดังกล่าวเป็นจริงเมื่อ t∈(a,b) ตัวอย่าง จงแสดงว่า เป็นผลเฉลยของ สำหรับ จริงๆแล้วสมการจากตัวอย่างนี้มีผลเฉลยมากกว่าหนึ่ง ตัวอย่างผลเฉลยอื่นๆ คือ เป็นต้น

Initial Condition(s) เงื่อนไขเริ่มต้น (initial condition(s)) คือเงื่อนไขหรือเซตของเงื่อนไขที่ บอกค่าของผลเฉลยหรือค่าของอนุพันธ์ของผลเฉลย ณ จุดใดจุดหนึ่งโดยเฉพาะ เงื่อนไขเริ่มต้นจะเขียนอยู่ในรูป และ/หรือ ตัวอย่าง จงแสดงว่า เป็นผลเฉลยของ

Interval of Validity ช่วงความสมเหตุสมผล (interval of validity) ของปัญหาสมการเชิง อนุพันธ์ที่มีเงื่อนไขเริ่มต้น (initial value problem) คือช่วงที่ใหญ่ ที่สุดที่เป็นไปได้โดยที่ผลเฉลยที่ได้ยังคงสมเหตุสมผลและช่วงดังกล่าวต้องรวมค่า อยู่ด้วย

Particular Solution ผลเฉลยเฉพาะ (particular solution) ของสมการเชิงอนุพันธ์คือผล เฉลยที่ไม่มีตัวคงค่า arbitrary constant และสอดคล้องกับเงื่อนไข เริ่มต้น

General Solution ผลเฉลยทั่วไป (general solution) ของสมการเชิงอนุพันธ์ คือผลเฉลยที่ มีตัวคงค่า arbitrary constant โดยไม่คำนึงถึงเงื่อนไขเริ่มต้น ผลเฉลยทั่วไปเป็นผลเฉลยที่อยู่ในรูปทั่วไปมากที่สุด และสามารถแปลงเป็นผลเฉลย เฉพาะได้ทุกๆ ผลเฉลยเมื่อกำหนดค่าให้ arbitrary constant

Explicit/Implicit Solution ผลเฉลยชัดแจง (explicit solution) คือผลเฉลยในรูป ผลเฉลยโดยปริยาย (implicit solution) คือผลเฉลยในรูป

First Order Differential Equations โดยทั่วไปแล้วสมการเชิงอนุพันธ์อันดับหนึ่งในรูปแบบทั่วไปที่สุดจะเขียนได้เป็น ซึ่งไม่มีสูตรทั่วไปสำหรับผลเฉลย มีสมการเชิงอนุพันธ์อันดังหนึ่งในรูปแบบพิเศษบางกรณีที่มีสูตรในการหาผลเฉลย อย่างเช่น Linear Equations Separable Equations Exact Equations

Second Order Differential Equations โดยทั่วไปแล้วสมการเชิงอนุพันธ์อันดับสองในรูปแบบทั่วไปที่สุดจะเขียนได้เป็น ถ้า เราเรียกสมการเชิงอนุพันธ์นี้ว่าเป็นสมการ homogeneous ถ้าไม่ใช่ จะเรียกว่าเป็นสมการ nonhomogeneous

Direction Fields บางครั้งเราไม่สามารถหาผลเฉลยที่อยู่ในรูปแบบที่ชัดเจนได้ แต่เราสามารถดู พฤติกรรมของผลเฉลยโดยการวาดกราฟ Direction Fields ได้ ตัวอย่าง

Direction Fields (ต่อ)