Wilhelm Conrad Röntgen at the University of Wurzburg in Germany

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
PAIBOONKIJ SUPPLY LIMITED PARTNERSHIP
Advertisements

หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
Lecture 4 เทคโนโลยีเครื่องเร่งอนุภาค
WAVE อ.จักรพันธ์ จอมแสนปิง (NoTe) รร. สตรีสมุทรปราการ.
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
น้ำหนักแสงเงา.
Conductors, dielectrics and capacitance
Rayleigh Scattering.
Solar radiation รังสีที่แผ่ออกมาประกอบด้วย รังสีเอ๊กซ (X-ray) แกมมา (Gamma) อุลตราไวโอเลต (UV) คิดเป็นประมาณร้อยละ 9 ของพลังงานทั้งหมด นอกนั้นเป็นรังสีที่มองเห็นร้อยละ.
สื่อประกอบการเรียนรู้
ดวงอาทิตย์ (The Sun).
ภาวะโลกร้อน [ Global Warming ]
นิวเคลียร์ฟิสิกส์ ตอนที่ 6
มาดูกันครับ ว่ากลางวันกลางคืนเกิดได้อย่างไร
แม่ครู ประทุมทิพย์ เกื้อหนุน
1 แบบจำลองอะตอม กับ ปฏิกิริยาเคมี.
บทที่ 9 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
การทดลองที่ 3 สเปกโทรสโกป.
เลเซอร์(Laser) Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation
โครงสร้างอะตอม (Atomic structure)
แผ่นแผนที่ (แผ่นล่าง)
ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.
บทที่ 3 การเขียนภาพฉายในระนาบสองมิติ (ส่วนที่ 2)
การเคลื่อนที่ของแสงผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
หน่วยที่ 7 การเลี้ยวเบนและโพลาไรเซชัน
Ultrasonic sensor.
แนวโน้มของตารางธาตุ.
จัดทำโดย นายอัมรินทร์ วงษ์พันธุ์ ภาควิชา การจัดการพลังงาน รหัส
เทคโนโลยีพลังงาน Solar storm (Communication)
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
Liquid Crystal Display (LCD)
การจัดแสงสำหรับงานโทรทัศน์
ความหมายและชนิดของคลื่น
Touch Screen.
การใส่ภาพลงบน Work Sheet...
คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 คลื่นหรรษา ตอนที่ 1 โดย อ.ดิลก อุทะนุต.
 แรงและสนามของแรง ฟิสิกส์พื้นฐาน
การเคลื่อนที่และพลังงาน และพลังงานนิวเคลียร์
กาแล็กซีและเอกภพ.
Computer Graphics Image Processing 1.
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ลักษณะการมองเห็นภาพ ตา
หลอดไฟฟ้า.
คลื่น คลื่น(Wave) คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกำหนดด้วยการ
ธรรมชาติเชิงคลื่นของสสาร
บทที่ 13 แสงและฟิสิกส์ควอนตัม ปรากฎการณ์ 3 อย่างที่ สนับสนุนแนวคิดของ
บทที่ 16 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ 1. การค้นพบนิวเคลียส
จะเกิดขึ้นได้กับคลื่น ตามขวาง
โครงสร้างของไฮโครเจนอะตอม
ระบบสี และ การแสดงผลภาพ
การเตรียมตัวถ่ายภาพ Outdoor Photography
Processor Quality Control (การควบคุมคุณภาพการล้างฟิล์ม)
ครู สุนิสา เมืองมาน้อย
อะตอมและ โครงสร้างอะตอม (Atom and Structure of Atom) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเบญจมราชูทิศ ราชบุรี วิทยาศาสตร์พื้นฐาน 2 ว / 2550.
ซ่อมเสียง.
กิจกรรม 4.7 สีของรุ้งเกิดขึ้นได้อย่างไร
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
วิธีการตรวจวิเคราะห์ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค
หน่วยส่งออก หน่วยส่งออก คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของ อักขระ ข้อความ รูปภาพ เสียง หรือภาพเคลื่อนไหว ซึ่งคอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ผ่านอุปกรณ์ของหน่วย.
Physics3 s32203 light light2 บทที่ 12 แสงเชิงฟิสิกส์
การหักเหของแสง (Refraction)
Module 3 สี และ การวัดค่าสี
ดาวพุธ (Mercury).
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
นางสาวจุไรรัตน์ เพิ่มสุข
"" การพิจารณาองค์ประกอบในการถ่ายรูป "" หลักพื้นฐานในการพิจารณาองค์ประกอบในการออกแบบก่อน องค์ประกอบในการออกแบบ.
โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อยประเทศไทย
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
องค์ประกอบศิลป์ : รูปร่าง และรูปทรง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Wilhelm Conrad Röntgen at the University of Wurzburg in Germany (1845-1923). ผู้คนพบรังสีเอกซ์ 9. รังสีเอกซ์ Röntgen wife’s hand

1. ไส้หลอด-ผลิตอิเล็กตรอน 2. เป้าโลหะหนักเช่น Cu ,Mo เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความยาวคลื่นในช่วง 100 - 0.01 Å อำนาจการทะลุทะลวงสูง ในยุคหนึ่งถูกนำไปใช้ในร้านตัดรองเท้า เครื่องสร้างภาพเรืองแสง ลูกค้าสามารถมองเท้าโปร่งใสของตัวเองภายในรองเท้าว่าขนาดพอดีหรือไม่ หลอดผลิตรังสีเอ็กซ์ ส่วนประกอบ 1. ไส้หลอด-ผลิตอิเล็กตรอน 2. เป้าโลหะหนักเช่น Cu ,Mo 3. หลอดแก้วปิดที่ความดันต่ำ

สเปกตรัมต่อเนื่อง bremsstrahlung radiation เกิดจากการหน่วงความเร็วของอิเล็กตรอนขณะผ่านอะตอมเป้า จากการเร่ง ที่เหลือ X-ray ตำแหน่งสเปกตรัม ขึ้นกับค่าศักย์ที่ใช้เร่งอิเล็กตรอน ขอบล่างของสเปกตรัม h=6.625x10-34 J/s ไม่ขึ้นกับชนิดของอะตอม

สเปกตรัมเส้น characteristic x-ray เกิดจากชนของอิเล็กตรอนและอะตอมเป้า ทำให้อะตอมเป้ามีอิเล็กตรอนบางวงหลุดออกไปเป็นที่ว่าง อิเล็กตรอน วงที่มีพลังงานสูงกว่าจะยุบตัวลงมาเรื่อยๆ เกิดการคายพลังงานเป็นค่าที่แน่นอนออกมา ตำแหน่งสเปกตรัม ขึ้นกับชนิดของอะตอม แต่ไม่ขึ้นกับศักย์ที่ใช้เร่ง

เส้นสเปคตรัม Ka และ Kb ที่เป็นผลของการยุบตัวจากอิเลคตรอนในชั้น L (n = 2) และ M (n = 3)ไปสู่ที่ว่างในชั้น K (n = 1)

การดูดกลืนรังสี I0 I0+ DI Dx m -สัมประสิทธ์ของการดูดกลืนเชิงเส้น(เศษสัดส่วนของโฟตอนที่ถูกดูดกลืนต่อความหนาหนึ่งหน่วย) I0 เป็นความเข้มรังสีที่ x=0

mm จะมากขึ้นตามเลขอะตอมของวัสดุ การดูดกลืนรังสีขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของวัสดุ ให้ mm = m/r คือสัมประสิทธ์การดูดกลืนเชิงมวล Lambert’s Law ค่าครึ่งความหนา- ความหนาที่ความเข้มลดลงครึ่งหนึ่ง more energetic radiation is absorbed less than lower energy radiation; however, higher energy radiation will be absorbed strongly if it is energetic enough to ionize another element (E > Ec). This produces "teeth" on the intensity curve (Figures 2.6.1a and 2.6.1b). These teeth are termed absorption edges http://www4.nau.edu/microanalysis/Microprobe/BulkAbsorp.html mm จะมากขึ้นตามเลขอะตอมของวัสดุ mm จะลดลงสำหรับลำรังสีเอกซ์ที่มี E สูงขึ้น

Thomson scattering : R) หรือ (Rayleigh scattering ) จะเกิดขึ้นเมื่อโฟตอนในรังสีเอกซ์มีอันตรกิริยากับอะตอมหนึ่งและกระเจิงออกโดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานของทั้งอะตอมและโฟตอน (Photoelectric absorption :PE) เกิดขึ้นเมื่อโฟตอนในรังสีเอกซ์ชนกับอะตอมๆหนึ่งและถ่ายพลังงานส่วนหนึ่งให้กับอะตอมนั้น เป็นเหตุให้เกิดการปลดปล่อยอิเลคตรอน อะตอมที่เสียอิเลคตรอนไปจะกลับไปสู่สภาวะพื้นเช่นเดิมได้โดยการเปล่งรังสีเอกซ์ที่เป็นแบบเฉพาะออกไป (Compton Scattering : C) เกิดขึ้นเมื่อโฟตอนในรังสีเอกซ์เข้าชนกับอะตอมและทำให้อิเลคตรอน ในอะตอมนั้นหลุดออกมาพร้อมกับการลดลงของพลังงานโฟตอนที่กระเจิงออกมา (Pair Production : PP) เกิดขึ้นกับรังสีเอกซ์ที่พลังงานโฟตอนเกินกว่า 1.02 MeV ขึ้นไป โฟตอนที่หายไปจากการดูดกลืนโฟตอนนี้จะถูกเปลี่ยนเป็นคู่อิเลคตรอน-โพสิตรอน (เป็นอนุภาคประจุบวกที่เป็นคู่แฝดของอิเลคตรอน) ( Photodisintegration : PD) เกิดจากการจับโฟตอนของนิวเคลียส พร้อมกับการคายอนุภาคที่มีพลังงานสอดคล้องกับพลังงานของโฟตอนที่ดูดกลืนเข้าไป ออกมาจากจากนิวเคลียส กระบวนการนี้มีผลน้อยมากกับพลังงานรังสีเอกซ์ที่ใช้กันอยู่โดยทั่วไปจึงมักละเลยได้

ภาพเอกซ์เรย์บนระนาบ (Plain x-ray) เป็นภาพที่มีเงาของสิ่งกีดขวางหลายๆองค์ประกอบ ไปวางซ้อนรวมกันอยู่บนระนาบสองมิติ ได้ภาพชนิดกลับดำ-ขาว (Negative image) แสงความเข้มสูงกว่าจะทำให้เกิดเป็นบริเวณมืดบนฟิล์มมากกว่าแสงความเข้มต่ำ -ปอดเป็นโพรงอากาศมีดูดกลืนน้อยที่สุดเป็นสีดำ -ไขมันและเนื้อเยื่อจะดูดกลืนรังสีน้อยกว่าจึงออกมาเป็นสีเทา -กระดูกจะปรากฏเป็นบริเวณขาว -สิ่งแปลกปลอมต่างๆเช่นหัวกระสุน หรือกรรไกรผ่าตัด เป็นสีขาว

การปรับความแยกชัดของภาพกลืนหรือสูดดมสารเพิ่มความคมชัด (สารที่มีเลขอะตอมมาก) เช่น สาร ประกอบของแบเรียม(Z=56)มักใช้เพื่อเน้นส่วนลูเมนของกระเพาะอาหาร สารประกอบไอโอดีน(Z=53) มักใช้เพื่อเน้นโพรงในช่องท้องและระบบเลือด การดมก๊าซเฉื่อยซีนอน(Z=54) เพื่อเน้นส่วนของสมองและปอด เงามัวสามารถลดได้โดยให้ร่างกายที่ต้องการถ่ายภาพและฟิล์มแนบชิดกันให้มากที่สุดและอยู่ไกลจากแหล่งกำเนิดแสงให้มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้

เอกซ์เรย์โทโมกราฟี (Computer tomography :CT หรือ Computer axial tomography :CAT) เก็บข้อมูล ประมวลผล ทั้งหลอดรังสีเอกซ์และชุดตรวจจับจะหมุนไปพร้อมๆกันรอบๆตัวคนไข้เพื่อเก็บข้อมูลการดูดกลืนรังสีเอกซ์ในมุมอื่นๆตลอดแผ่นตัดขวางแผ่น อนุกรมของภาพ 2D ที่ผ่านการกระบวนประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ จะได้ภาพภาคตัดขวาง --> เอกซ์เรย์โทโมกราฟีจัดเป็นการถ่ายภาพ 3D