8. ไฟฟ้า.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หลอดฟลูออเรสเซนต์ fluorescent
Advertisements

ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
Conductors, dielectrics and capacitance
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
Welcome to Electrical Engineering KKU.
5.9 Capacitance พิจารณาแผ่นตัวนำที่มีประจุอยู่และแผ่นตัวนำดังกล่าววางอยู่ในสาร dielectric ค่าควรจุของตัวเก็บประจุคือการนำเอาประจุที่เก็บสะสมหารกับความต่างศักย์ระหว่างสองแผ่นตัวนำ.
ไฟฟ้าสถิตย์ Electrostatics.
Electromagnetic Wave (EMW)
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
กระแส และ วงจรไฟฟ้ากระแสตรง
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
บทที่ 1 แหล่งพลังงานไฟฟ้า.
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ EG 3 กันยายน 2551.
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
บทที่ 2 ศักย์ไฟฟ้า พลังงานไฟฟ้าสถิตย์
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
วันนี้เรียน สนามไฟฟ้า เส้นแรงไฟฟ้า
กระแสไฟฟ้า Electric Current
เมื่อปิด S1, V1 กับ V2 มีค่าเท่าใด โดยที่
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 10 AC Power Analysis
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
ฟิสิกส์สำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
ไฟฟ้ากระแสตรง Direct Current
ไฟฟ้าสถิต (static electricity)
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 10 (Part II) การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
หน่วยที่ 3 คุณลักษณะสมบัติของ RLC
เป็นแหล่งพลังงานจ่ายไฟ ให้แก่มอเตอร์สตาร์ท และ
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
ไดแอก ( DIAC ) .
หลอดไฟฟ้า.
เครื่องปิ้งขนมปัง.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
หน่วยที่ 1 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
ครูยุพวรรณ ตรีรัตน์วิชชา
13.2 ประจุไฟฟ้า ฟิสิกส์ 4 (ว30204) กลับเมนูหลัก.
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

8. ไฟฟ้า

กระแสไฟฟ้า แรงเคลื่อนไฟฟ้า i- - + i+ i e [Volt] , [j]/[c] ปริมาณประจุเคลื่อนผ่าน พื้นที่ต่อหนึ่งหน่วยเวลา - กระแสอยู่ในทิศเดียวกับทิศการไหลของประจุบวก - กระแสคือผลรวมของกระแสประจุบวกและกระแสประจุลบ แรงเคลื่อนไฟฟ้า [Volt] , [j]/[c] พลังงานที่ใช้เพื่อขับเคลื่อน ประจุหนึ่งหน่วยผ่านวงจรหนึ่งๆ

สำหรับตัวนำทรงกระบอก ความต่างศักย์ตกคร่อมวัตถุ(หรือมีสนามไฟฟ้า)ทำให้เกิดกระแสไฟฟ้า ความต้านทานเป็นตัวจำกัดการไหลของกระแส ค่าความต้านทานกำหนดด้วยรูปทรงเรขาคณิตของวัตถุที่ กระแสไหลผ่าน และกำหนดด้วยสมบัติจุลภาคของวัตถุ สภาพต้านทานไฟฟ้า สำหรับตัวนำทรงกระบอก กฎของโอห์ม + - V l A I I V R สำหรับตัวนำใดๆ กระแสจะเป็นปฏิภาคโดยตรงกับความต่างศักย์ตกคร่อมปลายทั้งสอง

ตัวเก็บประจุ เมื่อต่อเซลไฟฟ้า(V) กับตัวเก็บประจุ มีงานทำให้ประจุลบ(-Q)อยู่ที่แผ่นโลหะขั้วลบ และเกิดประจุบวก(+Q)อยู่ที่แผ่นขั้วบวก + - V +Q -Q ความจุ[Farad] ความจุเมื่อตรงกลาง เป็นสุญากาศ พื้นที่ของขั้วไฟฟ้า + - Q/C +Q -Q ระยะห่างระหว่างแผ่น สภาพยอมของสุญญากาศ e0=8.85x10-12 c2/m2.N เมื่อนำเซลไฟฟ้าออกประจุ +Q และ -Q ยังคงอยู่ ความต่างศักย์ยังคงเดิม

ค่าคงที่ไดอิเล็กตริก สารไดอิเล็กตริก + - +Q -Q <Vo Eo Ei +s -s ค่าคงที่ไดอิเล็กตริก เมื่อสอดสารไดอิเลคตริกระหว่างแผ่นโลหะคู่ สนามไฟฟ้าจะเหนี่ยวนำให้เกิดขั้วคู่ไฟฟ้าที่มีสนามในทิศที่ลดสนามไฟฟ้าเดิม ทำให้ศักย์ไฟฟ้าระหว่างขั้วลดลง ==> ค่าความจุของตัวเก็บประจุสูงขึ้น C >C0 > 1 พลังงานสะสม

วงจรตัวต้านทาน-ตัวเก็บประจุ V Vc VR R C + ก. ขณะอัดประจุ + เริ่มต้นไม่มีประจุใน C (q=0 ที่ t=0) ,Vc =0 เมื่อเวลาผ่านไป t ข. ขณะคายประจุ Vc VR R C + เริ่มต้นมีประจุใน C (q= q0 ที่ t=0) Vc =V0 เมื่อเวลาผ่านไป t

t =0 VC=0 ไม่มีประจุ ไม่มี V t =RC VC=V(1 - e-1)=0.632V ค่าคงที่ของเวลา(time constant) 0.63V t => VC=V ประจุเต็ม C t t=RC VC t =0 VC=V0 =q0/C V0 t =RC VC=V(1 - e-1)=0.368V ค่าคงที่ของเวลา(time constant) 0.37V0 t => VC=V ประจุเต็ม C t t t=RC

เครื่องดีไฟบริลเลเตอร์ (Defibrillators) ช่วยเริ่มต้นการทำงานของหัวใจ ถ้ามีการหยุดเต้นหรือ การหด-คลายกล้ามเนื้อหัวใจทั้งห้องเอเตรียมและห้องเวนตริเคิลทำงานไม่ประสานกัน ป้อนไฟฟ้าแรงเคลื่อนสูงในระดับของพันโวลต์ผ่านเข้าทางหน้าอกของคนป่วยในช่วงเวลาสั้นๆอาจช่วยเริ่มต้นการทำงานของหัวใจได้ใหม่ ประกอบด้วยแหล่งจ่ายไฟฟ้าแรงดันสูงในระดับของ 3-4000 โวลต์ ตัวเก็บประจุและขั้วไฟฟ้าขนาดใหญ่ แหล่งจ่ายไฟฟ้าแรงสูง ตัวต้านทานภายใน อัดประจุ คายประจุ rex rin C

ระยะเวลาในการอัดประจุขึ้นอยู่กับความต้านทานภายในของแหล่งจ่ายไฟและขนาดความจุของตัวเก็บประจุ ระยะเวลาคายประจุขึ้นอยู่กับความต้านทานของผิวหนังคนระหว่างขั้วไฟฟ้าและปริมาณประจุในตัวเก็บประจุก่อนการคายประจุ มีความปลอดภัยสูง 1. ร่างกายไม่ต้องสัมผัสตรงกับแหล่งจ่ายไฟฟ้าแรงดันสูง 2. ถ้าตัวเก็บประจุเสื่อมมันจะเก็บประจุได้น้อยกว่าเดิมเสมอ