Electronic Lesson Conductometric Methods

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สมดุลเคมี.
Advertisements

ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
5.5 The Method of images เมื่อเราทราบว่าผิวตัวนำคือ ผิวสมศักย์ ดังนั้นถ้าอ้างอิงในผิวสมศักย์มีศักย์อ้างอิงเป็นศูนย์ จะสามารถหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ โดยใช้วิธีกระจก.
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
Chapter 7 Poisson’s and Laplace’s Equations
Energy and Potential วัตถุประสงค์ ทราบค่าคำจำกัดความ “งาน” ในระบบประจุ
“Non Electrolyte Solution”
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
4.5 The Potential Field of A System of Charges : Conservative Property
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
บทที่ 8 Power Amplifiers
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
วงจรรวมหรือไอซี (Integrated Circuit, IC) และไอซีออปแอมบ์(OP-AMP )
X-Ray Systems.
Welcome to Electrical Engineering KKU.
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
5.9 Capacitance พิจารณาแผ่นตัวนำที่มีประจุอยู่และแผ่นตัวนำดังกล่าววางอยู่ในสาร dielectric ค่าควรจุของตัวเก็บประจุคือการนำเอาประจุที่เก็บสะสมหารกับความต่างศักย์ระหว่างสองแผ่นตัวนำ.
: Electronic Lesson Introduction to Electroanalytical Chemistry
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
กระแส และ วงจรไฟฟ้ากระแสตรง
กราฟ พื้นที่ และ ปริมาตร
การแปลงลาปลาซ (Laplace transform) เป็นวิธีการหนึ่งที่สามารถใช้หาผลเฉลยของปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์ “เราจะใช้การแปลงลาปลาซ แปลงจากปัญหาค่าตั้งต้นของสมการเชิงอนุพันธ์
พลังงานศักย์ของระบบมีค่าเปลี่ยนแปลงตามข้อใด?
กระแสไฟฟ้า Electric Current
เมื่อปิด S1, V1 กับ V2 มีค่าเท่าใด โดยที่
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
CHAPTER 8 Sinusoids and Phasors
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 4 Circuit Theorems
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
Second-Order Circuits
Sinusoidal Steady-State Analysis
ฟิสิกส์สำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ
รูปแบบการเขียนรายงานผลการทดลอง
ชุดทดลองวงจรและ เครื่องมือวัดพื้นฐาน
ดังนั้นในสารละลายมี H3O+ = 5x10-5 mol
การแตกตัวของกรดแก่-เบสแก่
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
ไฟฟ้ากระแสตรง Direct Current
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 13 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part I)
Electrical Circuit Analysis 2
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
การต่อวงจรตัวต้านทาน
ยูเจที (UJT) ยูนิจังชั่น ทรานซิสเตอร์ (UNIJUNCTION TRANSISTOR) หรือเรียกย่อ ๆ ว่า ยูเจที (UJT) UJT ไปใช้งานได้อย่างกว้างขวางหลายอย่างเช่น ออสซิลเลเตอร์
ไดแอก ( DIAC ) .
กสิณ ประกอบไวทยกิจ ห้องวิจัยการออกแบบวงจรด้วยระบบคอมพิวเตอร์(CANDLE)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
วงรี ( Ellipse).
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
DC motor.
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ วงจรไฟฟ้า LC ค่า RMS หมายความว่าอย่างไร
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
Ch 2 Resistive Circuits วงจรซึ่งประกอบไปด้วย Resistors กับ Sources วงจรซึ่งประกอบไปด้วย Resistors กับ Sources กฎหลักพื้นฐานของการวิเคราะห์วงจรมี 2 ข้อคือ.
305221, Computer Electrical Circuit Analysis การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าทาง คอมพิวเตอร์ 3(2-3-6) ณรงค์ชัย มุ่งแฝงกลาง คมกริช มาเที่ยง สัปดาห์ที่ 12 AC.
Colpitts Oscillator Circuits
วงจรบริดจ์ Bridge Circuit.
เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้า
ใบสำเนางานนำเสนอ:

2302244 Electronic Lesson Conductometric Methods อ.ดร. ปาริฉัตร วนลาภพัฒนา

Outline Introduction Normality Fundamentals of Electricity Ohm’s Law Kirchoff’s Circuit Laws Wheatstone Bridge

Introduction CONDUCTOMETRIC METHODS เป็นการวิเคราะห์โดยการวัดการนำไฟฟ้า (conductance) ของสารละลาย ดังนั้น นิสิตควรทบทวนความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับไฟฟ้า (electricity) และนิยามสำคัญที่เกี่ยวข้อง ดังต่อไปนี้ ...

Normality คือ จำนวนกรัมสมมูลของตัวถูกละลายในสารละลายปริมาตร 1 ลิตร... is the number of gram-equivalent of a solute per liter of solution… คือ จำนวนกรัมสมมูลของตัวถูกละลายในสารละลายปริมาตร 1 ลิตร... when the number of gram-equivalent is weight of a solute divided by its gram-equivalent weight. โดย จำนวนกรัมสมมูล คือ น้ำหนักของตัวถูกละลาย / น้ำหนักกรัมสมมูล

Normality Normality (N) = N = น้ำหนักกรัมสมมูล คือ น้ำหนักเป็นกรัมของสารที่สามารถให้ประจุบวก หรือ ประจุลบ 1 โมล จำนวนกรัมสมมูลของตัวถูกละลาย สารละลาย 1 ลิตร น้ำหนักตัวถูกละลาย (กรัม) น้ำหนักกรัมสมมูล (กรัม/สมมูล) x ปริมาตรสารละลาย (ลิตร) จำนวนกรัมสมมูลของตัวถูกละลาย สารละลาย 1 ลิตร น้ำหนักตัวถูกละลาย (กรัม) น้ำหนักกรัมสมมูล (กรัม/สมมูล) x ปริมาตรสารละลาย (ลิตร) Normality (N) = N = น้ำหนักของหมู่บวกหรือหมู่ลบ จำนวนประจุของหมู่ น้ำหนักกรัมสมมูล =

Examples ดังนั้น น้ำหนักกรัมสมมูล = 36.5/1 g•eq-1 HCl 1 mol•dm-3 เท่ากับ 1 normal (N) HCl 1 mol (น้ำหนัก = 36.5 g) ให้ H+ 1 mol ดังนั้น น้ำหนักกรัมสมมูล = 36.5/1 g•eq-1 H2SO4 1 mol•dm-3 เท่ากับ 2 N H2SO4 1 mol (น้ำหนัก = 98 g) ให้ H+ 2 mol ดังนั้น น้ำหนักกรัมสมมูล = 98/2 = 49 g•eq-1

Fundamentals of Electricity

Ohm’s Law กฎที่แสดงความสัมพันธ์ของกระแสไฟฟ้า (current, I) ความต่างศักย์ (voltage drop หรือ potential difference, V) และความต้านทาน (resistance, R)

Kirchoff’s Circuit Laws Kirchoff’s current law ณ รอยต่อ (junction) ใดๆ กระแสไฟฟ้า ที่ไหลเข้า เท่ากับ กระแสไฟฟ้าที่ไหลออก i2 + i3 = i1 + i4 Kirchoff’s voltage law ผลรวมของศักย์ไฟฟ้าใน loop ใดๆ เป็นศูนย์ v1 + v2 + v3 + v4 = 0

Two Types of Circuits วงจรอนุกรม (series circuits) กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านจะมีค่าเท่ากันหมดทั้งวงจร I = IR1 = IR2 = IR3 ดังนั้น Vtotal = IR1 + IR2 + IR3 Vtotal = VR1 + VR2 + VR3 และ IRtotal = IR1 + IR2 + IR3 Rtotal = R1 + R2 + R3 I

Two Types of Circuits วงจรขนาน (parallel circuits) Rtotal R1 R2 R3 Vtotal = VR1 = VR2 = VR3 Itotal = IR1 + IR2 + IR3 Vtotal = Vtotal + Vtotal + Vtotal 1 = 1 + 1 + 1 Itotal Rtotal R1 R2 R3 Rtotal R1 R2 R3

Wheatstone Bridge เป็นอุปกรณ์สำหรับตรวจวัดตัวต้านทาน Rx = unknown resistance R1, R3 = known resistance R2 = adjustable known resistance Rg = resistance of galvanometer ปรับให้ค่าความต่างศักย์ระหว่างจุด B และ D เป็นศูนย์ (ig = 0) แล้ว R2 / R1 = Rx / R3

Wheatstone Bridge ณ รอยต่อ B และ D I3 – Ix – Ig = 0 --- (1) I1 + Ig – I2 = 0 --- (2) loop ABD และ BCD I3 R3 + Ig Rg – I1 R1 = 0 --- (3) Ix Rx – I2 R2 – Ig Rg = 0 --- (4)

Wheatstone Bridge เมื่อ bridge สมดุล Ig = 0 จาก (1) และ (2) Rx = R2 R3 I3 = Ix --- (1) และ I1 = I2 --- (2) I3 R3 = I1 R1 --- (3) Ix Rx = I2 R2 --- (4) (4) / (3) Rx = I2 R2 I3 R3 I1 R1 Ix จาก (1) และ (2) Rx = R2 R3 R1

References อินทิรา หาญพงษ์พันธ์, เคมีทั่วไปสำหรับนิสิตวิศวกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย. http://en.wikipedia.org http://www.allaboutcircuits.com