อาหารหยาบ พืชอาหารสัตว์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
Advertisements

การใช้ถั่วมะแฮะในอาหารสุกรระยะเจริญเติบโต
การศึกษารูปแบบการจัดการฟางข้าวฯ รหัสโครงการวิจัย
ดิน(Soil).
ไม้ดอกไม้ประดับงามตา ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การเจริญเติบโตของพืช
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านท่าเกวียน
การลดปัญหาเนื้อแก้วยางไหล ในการผลิตมังคุดในภาคใต้
การย้ายต้นกล้าแบบล้างราก
นิยามศัพท์ทางด้านอาหารสัตว์ และการจำแนกวัตถุดิบอาหารสัตว์
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ผลพลอยได้จากเมล็ดพืชน้ำมัน
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน
วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่เป็นแหล่งของโปรตีนที่มาจากพืช
สื่อการสอน เรื่องอาหารหลัก 5 หมู่ นายปราโมทย์ จินดางาม
ปุ๋ยหมักชีวภาพ Effective Microorganisms
การปรับปรุงพันธุ์พืชเพื่อต้านทานโรคและแมลง
หมู่ 6 ตำบลแก่งโสภา อำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
Chemical Properties of Grain
การวิเคราะห์อาหารสัตว์
คุณค่าทางอาหารสัตว์ของหญ้าแฝก
Groundnut, pearl millet, sorghum, pigeon pea, chickpea
อาหารหลัก 5 หมู่.
เทคโนโลยีชีวภาพ แก๊สชีวภาพ นำเสนอโดย 1. นายทรงศักดิ์ ศรีสันติสุข 2
เรื่อง การเลือกบริโภคอาหาร.
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
กาแฟ (coffee) ชื่อทางวิทยาศาสตร์ Coffea spp.
ส่วนที่ใช้ประโยชน์หลัก – ผล เพื่อการบริโภค
What is the optimum stocking rate ?
นางสาวสุธาสินี ภัยชนะ
การใช้มันสำปะหลังเป็นแหล่งพลังงานในสูตรอาหารสุกร
การใช้ยอดอ้อยเลี้ยงโค- กระบือ ทดแทนอาหารหยาบในฤดูแล้ง
การใช้ใบสับปะรดในอาหารผสมเสร็จสำหรับโครีดนม
การศึกษาหญ้าแฝกเพื่อใช้เป็นพืชอาหารสัตว์
สภาพทั่วไป ด้านปฏิรูปการให้บริการ / สนับสนุน (Management Reform) ที่โครงการวัตถุประสงค์ เป้าหม าย 1212 ฝึกอบรมการเพิ่ม ผลผลิต มันฯ, ข้าว, โค, บริหาร วิสาหกิจฯ.
โดย นายสุพันธ์ อินทะแสง นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรชำนาญการ
นำเสนอโดย ด.ช.ศรราม หมั่นดี
วิธีเพาะเมล็ดไผ่ (สามารถใช้กับไผ่ได้ทุกชนิด)
โครงการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลัง ไปสู่เป้าหมาย 30 ตัน/ไร่
วัชพืชที่สำคัญในนาข้าว และการป้องกันกำจัด
************************************************
การป้องกันไฟไหม้สวนยางในฤดูแล้ง
พืชเศรษฐกิจ อำเภอเต่างอย
เทคนิคและวิธีการปลูกผัก
ศูนย์บริหารศัตรูพืชจังหวัดสงขลา กรมส่งเสริมการเกษตร
งานวิจัยภาควิชาพืชไร่
ไม่ใช่ผู้ร้ายอย่างที่คิด ฝ่ายโภชนาการ รพ.ภูมิพลฯ
หมากเขียว MacAthur Palm
ดอกเข็ม Ixora chinensis lamk. ผู้จัดทำ นางสาว ทัศนีย์ เครือดวงคำ
การเลี้ยงปลาหางนกยูง
อิทธิพลของระดับโปรตีน คาร์โบไฮเดรตที่ไม่ใช่เยื่อใย และสัดส่วน MP/NELในอาหารสูตรรวมที่มีการใช้เปลือก-ซังข้าวโพดหมัก เป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก ต่อการให้ผลผลิตในโคนม.
วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา พ43102
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
สำรวจสภาพปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน
ดินเปรี้ยว ดินเปรี้ยว หรือดินกรด (Acid soil) หมายถึง ดินที่มีค่า pH วัดได้ต่ำกว่า 7.0 ดังนั้น ดินเปรี้ยวจัด (Acid sulfate soil) จึงเป็นดินเปรี้ยวหรือดินกรดชนิดหนึ่ง.
การเจริญเติบโตของพืช
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
นางสาว อภิญญา ปินตาแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
สำนักงานเกษตรอำเภอละอุ่น
โดย สถานีพัฒนาอาหารสัตว์สุพรรณบุรี
นางสาว อรอนงค์ จิตร์ภักดี
พันธุ์หญ้าพืชอาหารสัตว์ที่สำคัญในไทย
การจัดการแปลงหญ้า Forage Management
บทที่ 4 อาหารโคเนื้อ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาหารหยาบ พืชอาหารสัตว์

อาหารหยาบ (roughage) - อาหารที่มีเยื่อใย > 18% หรือ TDN < 60% ในสภาพ air-dry basis - เป็นอาหารหลักของ RUMINANTS ม้า และกระต่าย - ลักษณะทั่วไปของอาหารหยาบ - มีเยื่อใยสูง - โปรตีน + ไขมัน และแร่ธาตุแปรปรวน - CP : ถั่ว vs. ฟางข้าว - Ca, Mg : สูงในพืชตระกูลถั่ว - แร่ธาตุ : ขึ้นกับดิน พืชที่ปลูกร่วม และการใช้ปุ๋ย

แหล่งอาหารหยาบที่ใช้เลี้ยงสัตว์ พืชอาหารสัตว์ พืชตระกูลหญ้า ( gramineae) พืชตระกูลถั่ว ( leguminosae ) ผลพลอยได้จากพืชไร่ ตอซังข้าว ต้นข้าวโพดฝักอ่อนที่เก็บฝักแล้ว เปลือก ไหม ยอดอ้อย ต้น+ใบมันสำปะหลัง

พืชอาหารสัตว์ แปลงหญ้าธรรมชาติ / ทุ่งหญ้าธรรมชาติ ( natural grasslands) แปลงหญ้าปลูกสร้าง ( sown pasture/ cultivated pasture) แปลงหญ้าชนิดเดียว ( pure pasture) แปลงหญ้าผสมถั่ว ( mixed pasture) การตัดสด (cut and carry ) ปล่อยแทะเล็ม (grazing )

พันธุ์หญ้าที่ควรรู้จัก GENUS Panicum Panicum maximum : Guinea, Panic หรือ Green panic GENUS Paspalum Paspalum plicatulum : Plicatulum GENUS Pennisetum Pennisetum purpureum : Elephant grass หรือ Napier grass

GENUS Brachiaria Brachiaria brizantha : ซิกแนลตั้ง Brachiaria decumbens : ซิกแนลนอน Brachiaria mutica : Para grass, Mauritius, หญ้าขน Brachiaria ruziziensis : Ruzi grass, Gongo grass

พันธุ์ถั่วที่ควรรู้จัก - Centrosema pubescens : Centro ถั่วลาย - Desmodium intortum : Green leaf Desmodium Desmodium uncinatum : Silver leaf Desmodium - Stylosanthes guianensis : Stylo, perenian stylo - Stylosanthes hamata : Caribbean Stylo, Hamata, Verano Stylo - Stylosanthes humilis : Townsvill Stylo - Stylosanthes scabra : Shrubby Stylo - Macroptilium atropurpureum : Siratro

Leuceana leucocephala : กระถิน Sesbania grandiflora : แค - Cajanus cajan : ถั่วมะแฮะ Alysicarpus vaginalis : ถั่วลิสงนา

ปัจจัยทีมีผลต่อคุณภาพพืชอาหารสัตว์ 1. ชนิดของพืชอาหารสัตว์ พืชตระกูลถั่วมีคุณค่าทางอาหารสูงกว่าพืชตระกูลหญ้า C-4 Plants : หญ้าเขตร้อน C-3 Plants : ถั่วเขตร้อน หญ้าและถั่วเขตอบอุ่น C-3 vs. C-4 แตกต่างกันที่กระบวนการจับ CO2 ในกระบวนการ Photosynthesis

C-4 - ต้องการพลังงานในการ Fix CO2 จึงเจริญเติบโต ได้รวดเร็วในเขตร้อน ซึ่งมีแสงแดดและอุณหภูมิสูง - ใบมีท่อน้ำและท่ออาหารที่ถูกห่อหุ้มด้วย collenchyma cell ที่มีแป้ง และ hemicellulose สูง ผนังเซลหนา C-3 - Fix CO2 ในรูปของ 3-Carbon acids จึงต้องการ พลังงานน้อยกว่า C-4 - ผนังเซลของท่อน้ำท่ออาหารพัฒนาน้อยกว่า C-4 ทำ ให้มี Fructans หรือ Fructosans มากกว่าแป้ง

2.อายุของพืช พืชอ่อนสัดส่วนของใบต่อลำต้นสูง โปรตีน แร่ธาตุ ไวตามิน NFE สูง fiber ต่ำ ผลผลิตต่ำ *คุณค่าทางอาหารสูง +ผลผลิตสูง ช่วงเริ่มออกดอกถึงดอกบาน ข้าวโพด : ระยะเมล็ดเริ่มมีน้ำ นมจนถึงระยะที่ แป้งเริ่มแข็ง

ระดับโปรตีนในทรงพุ่มของหญ้า และถั่วบางชนิดที่อายุ 42 วัน ระดับโปรตีนในทรงพุ่มของหญ้า และถั่วบางชนิดที่อายุ 42 วัน ชนิดพืช ทรงพุ่ม %CP ใบ ลำต้น B. mutica โคน 14.1 5.8 กลาง 16.8 6.6 ยอด 19.4 7.4 B. ruziziensis โคน 10.1 5.6 กลาง 11.9 6.3 ยอด 14.3 7.3 S. hamata โคน 21.6 11.5 กลาง 23.8 13.3 ยอด 24.5 15.3

ระดับโปรตีนของถั่วและหญ้าเมื่ออายุเพิ่มขึ้น ชนิดพืช อายุ (สัปดาห์) 4 6 8 10 12 B mutica 13.4 12.1 6.0 9.4 6.8 P maximum 14.7 12.1 11.2 8.0 6.9 B ruziziensis 10.7 10.4 11.6 8.3 7.4 P purpureum 12.2 10.9 4.3 8.1 4.6 S hamata 15.8 16.6 18.8 15.8 16.8 M atropurpureum 17.7 18.1 20.8 15.9 17.2 C pubescens 17.6 19.5 22.9 20.3 20.7

3. ความอุดมสมบูรณ์ของดินและการใส่ปุ๋ย โปรตีน mineral ในพืชอาหารสัตว์ ( see table) 4. ความถี่ของการตัด การตัดบ่อยครั้งทำให้ผลผลิตเมื่อคิดเป็นวัตถุแห้งต่ำ คุณค่าทางอาหารสูงกว่าการตัดนานๆครั้ง ( see table.) 5. การเก็บรักษา & การแปรรูป หญ้าแห้ง: ตากแดดสูญเสียแคโรทีน โภชนะถูกชะล้างโดยน้ำฝน เชื้อรา หญ้าหมัก :เชื้อรา

เปอร์เซ็นต์โปรตีนเฉลี่ยของหญ้ากินนีและหญ้าขนที่ปลูกในดินชุดกำแพงแสน อัตราปุ๋ย (N/ไร่) กินนี ขน 0 8.88 9.56 25 9.19 10.44 50 9.94 12.19 75 11.38 13.94 100 11.40 14.80 125 11.44 13.80

อิทธิพลของการตัดต่อระดับโปรตีนหญ้า หญ้า 3 wks 6 wks D decumbens 15.7 7.5 B mutica 16.3 6.3 P purpureum 16.3 7.3 P maximum 13.6 8.9 B ruziziensis 12.0 8.0

การใช้อาหารหยาบเลี้ยงสัตว์ อาหารหยาบสด อาหารหยาบแห้ง หญ้าแห้ง ถั่วแห้ง หญ้าผสมถั่วแห้ง ( hay) อาหารหยาบหมัก (silage) หญ้าหมัก หญ้าผสมถั่วหมัก หญ้าแห้งแล้วนำมาหมัก (haylage) ข้าวโพดหมัก (corn silage) etc.