Chapter 3: Expected Value of Random Variable

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แปลคำศัพท์สำคัญ Chapter 2 หัวข้อ 2. 1 – 2
Advertisements

ลิมิตและความต่อเนื่อง
(Some Extension of Limit Concept)
ความต่อเนื่อง (Continuity)
ลำดับทางเดียว (Monotonic Sequences)
ฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง (Continuous Function on Intervals)
ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ค่าการกระจาย ค่ามาตรฐาน
Coulomb’s Law and Electric Field Intensity
ความเสี่ยงและอัตราผลตอบแทน
บทที่ 12 การวิเคราะห์การถดถอย
ความสัมพันธ์ของการบวกและการลบ
การบ้าน ข้อ 1 จงพิสูจน์ว่า
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
Chapter 4: Special Probability Distributions and Densities
Chapter 6: Sampling Distributions
Chapter 2 Probability Distributions and Probability Densities
Chapter 7: Point Estimation
Chapter 8: Interval Estimation
Chapter 9: Hypothesis Testing : Theory
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
(Statistical Package for the Social Sciences : SPSS)
Probability & Statistics
Probability & Statistics
Power Series (2) Fundamentals of AMCS.
จงหาระยะห่างของจุดต่อไปนี้ 1. จุด 0 ไปยัง จุด 0 ไปยัง 2
Quick Review about Probability and
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การประมาณค่าทางสถิติ
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
Chapter 4 อินทิกรัล Integrals
Bayes’ Theorem Conditional Prob มีหลาย condition A1, A2, A3, …., An
อนุพันธ์อันดับหนึ่ง ( First Derivative )
งานและพลังงาน (Work and Energy).
เทคนิคทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์เชิงปริมาณ
หน่วยที่ 8 อนุพันธ์ย่อย (partial derivative).
มิสกมลฉัตร อู่ศิริกุลพานิชย์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
(quantitative genetics)
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
โรงเรียนบรรหารแจ่มใสวิทยา ๖
Menu Analyze > Correlate
บทที่ 4 ผลตอบแทนและความเสี่ยง (1)
สถิติ Statistics โดย น.ท.อนุรักษ์ โชติดิลก
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
การแจกแจงปกติ ครูสหรัฐ สีมานนท์.
นิยาม, ทฤษฎี สับเซตและพาวเวอร์เซต
ค33211 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 5
Systems of Forces and Moments
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
สหสัมพันธ์ (correlation)
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การแจกแจงปกติ.
โดย อ.วัชรานนท์ จุฑาจันทร์
2 Random Signals Asst. Prof. Dr. Peerapol Yuvapoositanon, PhD, DIC
เทคนิคในการวัดความเสี่ยง
ฟังก์ชันเอ็กซ์โพเนนเชียล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
วงรี ( Ellipse).
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
Chi-Square Test การทดสอบไคสแควร์ 12.
คณิตศาสตร์ (ค33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 7
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์
ทฤษฎีการผลิต.
Summations and Mathematical Induction Benchaporn Jantarakongkul
Basic Statistics พีระพงษ์ แพงไพรี.
สถิติเบื้องต้นในการวัดผลและประเมินผลการศึกษา
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
การมีส่วนร่วมในระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากร
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter 3: Expected Value of Random Variable

Def 1: ถ้า X เป็น discrete r. v Def 1: ถ้า X เป็น discrete r.v. และ f(x) เป็น ค่าของ probability distribution ณ x, ค่าคาดหมาย (Expected value) ของ x จะเป็น E(X) = Def 2: ถ้า X เป็น continuous r.v. และ f(x) เป็น ค่าของ probability density ณ x, ค่าคาดหมาย (Expected value) ของ x จะเป็น E(X) =

Th’m1: ถ้า X เป็น discrete r. v Th’m1: ถ้า X เป็น discrete r.v. ซึ่งมี f(x) เป็นค่า pdf ณ จุด x, ค่า expected value of g(X) จะเป็น: E[g(X)] = ถ้า X เป็น continuous r.v. ซึ่งมี f(x) เป็นค่า pdf ณ จุด x, ค่า expected value of g(X) จะเป็น:

Th’m 3: ถ้า X และ Y เป็น discrete r. v Th’m 3: ถ้า X และ Y เป็น discrete r.v. ซึ่งมี f(x, y) เป็น joint pdf ณ จุด (x, y), ค่า expected value of g(X, Y) จะเป็น: E[g(X, Y)] = ถ้า X และ Y เป็น continuous r.v. ซึ่งมี f(x, y) เป็น joint pdf ณ จุด (x, y), ค่า expected value of g(X, Y) จะเป็น:

Def 2: โมเมนต์ลำดับที่ r รอบจุด origin (rth moment about the origin) ของ r.v. X ให้แทนด้วยสัญลักษณ์ และมีค่าเท่ากับค่า expected value of Xr ในกรณี X เป็น discrete r.v. และ r = 0, 1, 2, … ในกรณี X เป็น continuous r.v. และ r = 0, 1, 2, …

Def 3: โมเมนต์ลำดับที่ r รอบค่าเฉลี่ย (rth moment about the mean) ของ r.v. X ให้แทนด้วยสัญลักษณ์ และมีค่าเท่ากับค่า expected value of (X - )r ในกรณี X เป็น discrete r.v. และ r = 0, 1, 2, … ในกรณี X เป็น continuous r.v. และ r = 0, 1, 2, …

Variance & S.D. เป็นตัวบอกถึงค่าเฉลี่ยของการกระจายตัวของ X ออกจากค่า mean ของมัน Def 4: เราเรียก ว่าเป็น variance of the distribution of X หรือ variance of X (ความแปรปรวนของ X ) ใช้สัญลักษณ์เป็น , var(X), หรือV(X) เราเรียก รากที่สองของ ว่าเป็น Standard Deviation of X (ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของ X ) ใช้สัญลักษณ์ หรือ S.D.

3.3 Chebyshev’s Theorem Th’m 5: ถ้า และ เป็นค่า mean และ standard deviation ของ r.v. X และให้ k เป็นค่าคงที่บวกใดๆแล้ว จะได้ว่า ค่าความน่าจะเป็นที่ X จะมีค่าห่างจากค่า ไม่เกิน k standard deviation จะมีค่าไม่น้อยกว่า 1 - 1/k2

3.4 Skewness and Kurtosis Def 5: นิยามให้ ค่าสัมประสิทธิ์ของความเบ้ (Coefficient of Skewness) มีค่าเป็น Def 6: นิยามให้ ค่าสัมประสิทธิ์ของความโด่ง (Coefficient of Kurtosis) มีค่าเป็น

3.5 Moment-Generating Function Def 7: กรณี X เป็น discrete r.v., the moment-generating function of X จะมีค่าเป็น กรณี X เป็น continuous r.v., the moment-generating function of X จะมีค่าเป็น

Taylor’s Series Expansion รอบค่า t=0 (Maclaurin’s Series) ==> ค่า coeff. ของ ใน Taylor’s Series Expansion รอบจุด t=0 มีค่าเท่ากับ

Th’m 6: Th’m 7: คุณสมบัติของ Moment-Generating Fn ถ้าให้ a & b เป็นค่าคงที่ใดๆ 1. 2. 3.

3.6 Product Moments Def 8: The rth and sth product moment about the origin of the r.v. X and Y แทนด้วยสัญลักษณ์ และมีค่าเท่ากับค่า expected value ของ XrYs ในกรณีที่ r = 0,1,2,…; s = 0,1,2,... และ X & Y เป็น discrete r.v. ในกรณีที่ r = 0,1,2,…; s = 0,1,2,... และ X & Y เป็น continuous r.v.

Def 9: The rth and sth product moment about the means of the r. v Def 9: The rth and sth product moment about the means of the r.v. X and Y แทนด้วยสัญลักษณ์ และมีค่าเท่ากับค่า expected value ของ (X - )r (Y - )s ในกรณีที่ r = 0,1,2,…; s = 0,1,2,... และ X & Y เป็น discrete r.v. ในกรณีที่ r = 0,1,2,…; s = 0,1,2,... และ X & Y เป็น continuous r.v.

Def 10: เราจะเรียก ว่าเป็น covariance of X and Y และแทนด้วยสัญลักษณ์ , cov (X, Y), หรือ C(X, Y) ค่า cov (X, Y) จะมีค่าเป็นบวก เมื่อ X & Y มีค่าแปรผันในทิศเดียวกัน --> ถ้า X มีค่าสูง จะพบว่า Y มักมีค่าสูงด้วย --> ถ้า X มีค่าต่ำ จะพบว่า Y มักมีค่าต่ำด้วย ค่า cov (X, Y) จะมีค่าเป็นลบ เมื่อ X & Y มีค่าแปรผันในทิศตรงข้ามกัน --> ถ้า X มีค่าสูง จะพบว่า Y มักมีค่าต่ำ --> ถ้า X มีค่าต่ำ จะพบว่า Y มักมีค่าสูง

3.7Additional Properties of Moments Th’m 11: ถ้า X1, X2, …, Xn เป็น r.v. และ โดยที่ a1, a2, …, an เป็นค่าคงที่ใดๆแล้ว จะได้ว่า และ

Corollary 11: ถ้า X1, X2, …, Xn เป็น r.v. ซึ่งเป็นอิสระต่อกัน และ จะได้ว่า [เนื่องจากในกรณี indep, cov(Xi, Xj) = 0 เสมอ]

Th’m 12: ถ้า X1, X2, …, Xn เป็น r.v. ซึ่งเป็นอิสระต่อกัน และ โดยที่ a1, a2, …, an และ b1, b2, …, bn เป็นค่าคงที่ใดๆแล้ว จะได้ว่า

Corollary 12: ถ้า X1, X2, …, Xn เป็น r.v. ซึ่งเป็นอิสระต่อกัน และ จะได้ว่า [ในกรณี indep, cov(Xi, Xj) = 0 เสมอ]

3.7 Conditional Expectations Def 11: กรณี X เป็น discrete r.v. ซึ่งมี f(x|y) เป็น conditional pdf of X given Y=y ค่า conditional expectation of u(X) given Y=y จะมีค่าเป็น กรณี X เป็น continuous r.v. ซึ่งมี f(x|y) เป็น conditional pdf of X given Y=y ค่า conditional expectation of u(X) given Y=y จะมีค่าเป็น