ดุลยภาพทั่วไป (General equilibrium)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Supply-side Effects of Fiscal Policy.
Advertisements

รองศาสตราจารย์ ดร. ภาวดี ทองอุไทย สิงหาคม 2552
เศรษฐศาสตร์แรงงาน (ศ. 471) อุปสงค์แรงงาน (ต่อ)
ส่วนที่ : 2 เรื่อง การวางแผน
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
ลิมิตและความต่อเนื่อง
ทราบนิยามของ Flux และ Electric Flux Density
Offer curves and the terms of trade ดร.วิธาดา อนุกูลวรรธกะ
คณิตศาสตร์สำหรับการคิดภาระภาษี
เศรษฐศาสตร์สถาบันว่าด้วยกรรมสิทธิ์ (๑)
ความเดิมจากตอนที่แล้ว
ตัวแบบเส้นความพอใจเท่ากัน(indifference curve)
การเลือกคุณภาพสินค้า
กรอบแนวคิด ในการทำวิจัย
สถิติที่ใช้ในการวิจัย
การสังเกต อ.สมพงษ์ พันธุรัตน์.
ทฤษฏีพฤติกรรมผู้บริโภค
เศรษฐศาสตร์จุลภาคเป็นการศึกษาพฤติกรรม (behavior) ของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละประเภท (individual economic units) ได้แก่ • ผู้บริโภค • แรงงาน • เจ้าของธุรกิจ.
ส่วนเกินของผู้บริโภค (consumer surplus)
Group 1 Proundly Present
อุปทานของแรงงานในระดับบุคคล
ตลาดปัจจัยการผลิต (Markets for Factor Inputs)
ตัวอย่าง: ดุลยภาพในการแลกเปลี่ยนและการผลิต
Theory of Firm.
บทที่ 1 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
อุปสงค์และอุปทาน Demand and Supply.
โพรเจกไทล์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์         คือการเคลื่อนที่ในแนวโค้งพาราโบลา ซึ่งเกิดจากวัตถุได้รับความเร็วใน 2 แนวพร้อมกัน คือ ความเร็วในแนวราบและความเร็วในแนวดิ่ง.
อสมการ.
ทฤษฏีกราฟเบื้องต้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.
บทที่ 7 การวิเคราะห์ราคา สินค้าเกษตรและอาหาร
บทที่ 9 ราคาระดับฟาร์มและราคาสินค้าเกษตรและอาหาร
คณิตศาสตร์และสถิติธุรกิจ
บรรยาย เศรษฐศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 2 ความรู้เกี่ยวกับอุปสงค์และอุปทาน
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
บทที่ 7 การกำหนดราคาสินค้าในตลาด
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี
สื่อการเรียนรู้ การตัดสินใจในการผลิต
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
บทที่ 9 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Imperfect Competition) ตลาดผูกขาดที่แท้จริง ลักษณะของตลาดผูกขาดแท้จริง.
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดราคาสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์และอุปทาน Elasticity of Demand and Supply
พฤติกรรมผู้บริโภค.
บทที่ 1 : บทนำ.
พฤติกรรมผู้บริโภค.
การวางแผนการผลิตรวม ความหมาย วัตถุประสงค์และขั้นตอนการวางแผนการผลิตรวม
Chapter8 การบัญชีและการวิเคราะห์งบการเงิน
ปัญหา ช่องว่างค่าตอบแทน เมื่อเทียบกับสาธารณสุข กทม. เอกชน
การแจกแจงปกติ.
การวางแผนกำไร (Profit Planning)
เรื่องหลักการแก้ปัญหา
ราคาเงาของแรงงาน และอัตราการคิดลดสำหรับสังคม
หลักสูตรอบรม การวัดประสิทธิภาพและผลิตภาพของการผลิตสินค้าเกษตร
สรุป แนวคิด “ การสร้างความรู้ ” (Additional A ๑ ) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา อยู่ที่ “ การสร้างความรู้ ”( ของแต่ ละคน ) ขึ้นมา นำเสนอโดย ศ. ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ์
การเร่งโครงการ Expedite Project.
โครงสร้างของตลาดและการกำหนดราคา
หลักการแก้ปัญหา
Lecture 14 ประสิทธิภาพของการบริโภคจาก Edgeworth’s Box Diagram
ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทน ผลตอบแทนปัจจัยการผลิต (ค่าเช่า, ดอกเบี้ย, ค้าจ้าง ,กำไร) ปัจจัยการผลิต (ที่ดิน, ทุน, แรงงาน, ผู้ประกอบการ)
ปวสปี 4 รหัส หมวดวิชาชีพพื้นฐาน เรื่องการค้าระหว่างประเทศ
ทฤษฎีเฮิคเชอร์และโอลิน
ต้นทุนการผลิต.
ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค
ตัวอย่าง : ประสิทธิภาพในการผลิต คำถาม : ให้การผลิตสินค้าชนิดหนึ่งมีผู้ผลิต 2 ราย ที่มี Production function เหมือนกันดังนี้ q = K 0.25 L 0.75 ราย A ใช้
ทฤษฎีการผลิต.
บทที่ 5 การสร้างโอกาสทางธุรกิจ
ตลาดผูกขาด ( MONOPOLY )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ดุลยภาพทั่วไป (General equilibrium)

การวิเคราะห์ดุลยภาพทั่วไปได้นำความสัมพันธ์และความเชื่อมโยงของตลาดทุกแห่งเข้ามาวิเคราะห์พร้อมๆกัน ขณะที่การวิเคราะห์ดุลยภาพเฉพาะส่วน (partial equilibrium analysis) จะกำหนดให้ตลาดอื่นที่มิได้วิเคราะห์ไม่มีผลจากตลาดที่กำลังวิเคราะห์อยู่

การวิเคราะห์ดุลยภาพเฉพาะส่วนเพียงพอหรือไม่ขึ้นอยู่กับ feedback effect ที่ทำให้เกิดการปรับตัวของราคาและปริมาณของตลาดต่างๆ ถ้ามีมากก็ต้องใช้ GE ถ้ามีน้อยก็ใช้แค่ PE

เปรียบเทียบ PE กับ GE PE คำนวณราคาของตั๋วหนังเป็น 6.35 ดังนั้นผล PE understate ในกรณีที่สินค้าทดแทนกัน แต่ถ้าสินค้าใช้ร่วมกัน ผล PE จะ overstate

เศรษฐศาสตร์สวัสดิการ (Welfare Economics) “The normative evaluation of markets and economic policy”

ประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยน (Exchange efficiency) การแลกเปลี่ยน หมายถึง คนอย่างน้อย 2 คนมาแลกเปลี่ยนสินค้าอย่างน้อย 2 สิ่งระหว่างกัน จุดประสงค์ของการแลกเปลี่ยน คือ การทำให้มี สวัสดิการดีขึ้น (better off)

หลักเกณฑ์ที่ว่าการแลกเปลี่ยน (อาจเรียกว่าเป็นการจัดสรรหรือ allocation) ของสินค้าที่ทำให้มีสวัสดิการดีขึ้น คือ ประสิทธิภาพแบบพาเรโต (Pareto efficient) โดยมีหลักการที่ว่า “การแลกเปลี่ยนหรือการจัดสรรจะมีประสิทธิภาพเมื่อไม่มีใครดีขึ้นได้โดยปราศจากการทำให้คนอื่นอย่างน้อยหนึ่งคนเลวลง (worse off)”

1. ทุกคนรู้ความพึงพอใจของทุกคน 2. การแลกเปลี่ยนสินค้าไม่มีต้นทุน ในการวิเคราะห์เพื่อพิจารณาการแลกเปลี่ยนที่ทำให้มีประสิทธิภาพสูงสุดจากเดิม มีข้อสมมติที่สำคัญ 3 ประการ คือ 1. ทุกคนรู้ความพึงพอใจของทุกคน 2. การแลกเปลี่ยนสินค้าไม่มีต้นทุน 3. ก่อนการแลกเปลี่ยน Marginal Rate of Substitution ของสินค้าของคนที่แลกเปลี่ยนไม่เท่ากัน

การวิเคราะห์จะใช้เครื่องมือที่เรียกว่า The Edgeworth Box Diagram ประกอบด้วย - คน 2 คน - สินค้า 2 ชนิด - จุดการจัดสรรเริ่มต้น (initial allocation) ของคนทั้งสอง - ผลบวกของจำนวนสินค้าแต่ละประเภทของแต่ละคนเท่ากับจำนวนรวมของสินค้าแต่ละประเภท

สวัสดิการที่เพิ่มขึ้นจากการแลกเปลี่ยนวัดได้จากอรรถประโยชน์ของแต่ละคนที่ได้มากขึ้น โดยดูจากเส้น IC นั่นคือ IC ที่ผ่านจุด A (ของ James) IC ที่ผ่านจุด A (ของ Karen) MRS ของ James ณ.จุด A ไม่เท่ากับ MRS ของ Karen ทำให้มีโอกาสในการแลกเปลี่ยน เช่น MRSJ = 1/2 และ MRSK = 3

ก่อนอื่นต้องแยกพื้นที่เป็น 2 ส่วน - ส่วนที่ทำให้คนใดคนหนึ่งเลวลง - ส่วนที่ทำให้คนใดคนหนึ่งหรือทั้งสองคนดีขึ้น จะแลกเปลี่ยนในส่วนหลังนี้เท่านั้น

แม้ว่าการแลกเปลี่ยนจะทำให้คนทั้งสองดีขึ้น แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะมีประสิทธิภาพ (เช่นจากจุด A ไปจุด B) ซึ่งทำให้ทั้งคู่อยู่บน IC ที่สูงกว่าเดิม จุดที่มีประสิทธิภาพ คือ จุดที่ IC ของทั้งสองเส้นสัมผัสกัน เพราะว่าการจัดสรร ณ.จุดนี้ไม่สามารถทำให้ใครคนใดคนหนึ่งดีขึ้นโดยไม่ทำให้อีกคนเลวลง (เป็นไปตามเงื่อนไขของพาเรโต้)

จุดที่ IC ทั้ง 2 เส้นสัมผัสกันในพื้นที่ที่แลกเปลี่ยนแล้วมีอรรถประโยชน์เพิ่มขึ้นมีมากมาย คนทั้งสองจะลงเอยการแลกเปลี่ยนจุดใดขึ้นอยู่กับความสามารถเจรจาต่อรองของคนทั้งสอง

ใน Edgeworth Box จะมีจุดสัมผัสของ IC มากมาย หากไม่คำนึงถึงจุดเริ่มต้นของการจัดสรรสินค้า จุดที่เชื่อมต่อจุดสัมผัส IC ทั้งหมดใน Edgeworth Box เรียกว่าเส้น Contract Curve

ข้อพึงสังเกต 1. ประสิทธิภาพพาเรโต้เพียงแต่บอกว่าการแลกเปลี่ยนจะทำให้มีประสิทธิภาพได้ แต่ไม่ได้บอกว่าจุดใดบนเส้น Contract Curve จะดีที่สุด 2. การจัดสรรให้ไปถึงประสิทธิภาพพาเรโต้อาจเกิดจากการแลกเปลี่ยนมากกว่า 1 ครั้งหรือเป็นชุดหรือเป็นการแทรกแซงของรัฐบาล เช่น การยกเลิก import quota และ job relocation subsidy ของสหรัฐ

F C ถ้าแลกเปลี่ยน James 7 1 ต้องการ C เพิ่ม Karen 3 5 ต้องการ F เพิ่ม ดังนั้น MRSJFC ไม่เท่ากับ MRSKFC การแลกเปลี่ยนจะทำให้ MRS ของทั้งสองค่อยๆเปลี่ยนไป และอาจไปเป็น MRS เดียวกัน ซึ่งทำให้ทั้งคู่พอใจสูงสุด

ตามที่ทราบกันมาว่า จุดสัมผัส IC สามารถให้ค่า Marginal rate of substitution ได้ ดังนั้น คน 2 คนที่แลกเปลี่ยนกัน ณ.จุดนี้ก็ต้องมี MRS เท่ากัน ฉะนั้น MRSJFC = Pc = MRSJFC PF