ตัวแปรชนิดโครงสร้าง (Structure)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
Advertisements

Arrays.
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรประเภทตัวชี้ (Pointer)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
Department of Computer Business
พอยน์เตอร์ (Pointer) Chapter Introduction to Programming
ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data)
Data Type part.II.
หลักการโปรแกรม 1 Lecture 3: ตัวแปร, นิพจน์คณิตศาสตร์, การคำนวณทางคณิตศาสตร์,การดำเนินการกับสายอักขระ.
Lecture 10: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
ทบทวน อาร์เรย์ (Array)
Array.
ชนิดของข้อมูลและตัวดำเนินการ
Structure.
LAB # 5 Computer Programming 1 1.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
รับและแสดงผลข้อมูล.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
ตัวแปรชุด.
Lecture no. 6 Structure & Union
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
ตัวแปรแบบโครงสร้าง.
บทที่ 12 Structure and union Kairoek choeychuen
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
C Programming Lecture no. 9 Structure.
C Programming Lecture no. 6: Function.
SCC : Suthida Chaichomchuen
1 RECORD TYPE ข้อมูลชนิดเรคอร์ด SCC : Suthida Chaichomchuen
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
อาร์เรย์และข้อความสตริง
บทที่ 3 สตริงและ เรคคคอร์ค
อาร์เรย์ (Array).
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Lecture 4 เรคอร์ด.
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
การประมวลผลสายอักขระ
ความหมาย การประกาศ และการใช้
ตัวแปรชุด Arrays.
Overview of C Programming
คำสั่งรับค่า และ แสดงผลค่า. คำสั่งรับ - แสดงผล 1. printf( ) เป็น ฟังก์ชันที่ใช้ในการ แสดงผลข้อมูลที่อยู่ในตัว แปร ค่าคงที่ นิพจน์ออกมา ทางจอภาพ.
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
โครงสร้างข้อมูลแบบรายการโยง (Link List)
ข้อมูลแบบโครงสร้างและยูเนียน
Java Programming Java Structure and Datatype,Variable
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
หน่วยที่ 4 โครงสร้างโปรแกรมภาษาซี
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
ตัวแปร และชนิดข้อมูล.
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
chapter 2 - Construction and destruction - Overloading method
Variable, Constant. Variable คือชื่อที่ตั้งขึ้นมาเพื่อจองพื้นที่ใน หน่วยความจำสำหรับ พักข้อมูล.
รูปแบบของการใช้คำสั่ง for for( ตัวแปร = ค่าเริ่มต้น ; นิพจน์ตรรกะ ; ค่าเพิ่มหรือค่าลด ) { statement(s); } ตัวอย่าง กรณีกำหนดการวนซ้ำเป็นค่าคงที่ For(n=1;n
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวแปรชนิดโครงสร้าง (Structure) http://www.renvi.src.ku.ac.th

Today Agenda struct ? การใช้งานตัวแปรชนิดโครงสร้าง 1 การใช้งานตัวแปรชนิดโครงสร้าง 2 ตัวแปรชนิดโครงสร้างกับอาร์เรย์ 3 QUIZ 4

เกริ่นนำเกี่ยวกับสตรัคเจอร์ สตรัคเจอร์ (Structure) คือ โครงสร้างข้อมูลที่นำเอาข้อมูลที่มีประเภทข้อมูลชนิดพื้นฐานที่แตกต่างกันแต่มีความสัมพันธ์กันมารวมกันเป็นโครงสร้างข้อมูลชนิดใหม่ เช่น การเก็บข้อมูลนิสิต (student) จะต้องประกอบไปด้วยข้อมูลรหัสนิสิต, ชื่อ (name), นามสกุล (surname), สาขาวิชา (major), คณะ (faculty) เป็นต้น student0 name surname major faculty student1 name surname major faculty student2 name surname major faculty

การใช้งานตัวแปรชนิดโครงสร้าง 1 กำหนดโครงสร้าง 2 สร้างตัวแปรจากโครงสร้างที่กำหนด 3 กำหนดค่าให้กับสมาชิกของตัวแปร 4 แสดงผลค่าสมาชิกของตัวแปร

การกำหนดโครงสร้างตัวแปรชนิดโครงสร้าง ก่อนจะสร้างตัวแปรชนิดสตรัคเจอร์มาใช้งานได้นั้น เราต้องกำหนดโครงสร้างข้อมูลสำหรับตัวแปรนั้นก่อน ดังนี้ รูปแบบที่ 1 struct ชื่อของโครงสร้างที่จะสร้าง { ชนิดข้อมูลพื้นฐาน ชื่อตัวแปร; … }; ตัวอย่างการใช้งาน struct student { int stu_id; char stu_name[20]; char stu_surname[20]; char major[20]; char faculty[20]; };

การกำหนดโครงสร้างตัวแปรชนิดโครงสร้าง (ต่อ) รูปแบบที่ 2 typedef struct { ชนิดข้อมูลพื้นฐาน ชื่อตัวแปร; … } ชื่อของโครงสร้างที่จะสร้าง; ตัวอย่างการใช้งาน typedef struct { int stu_id; char stu_name[20]; char stu_surname[20]; char major[20]; char faculty[20]; } STUDENT;

การสร้างตัวแปรชนิดโครงสร้าง เมื่อกำหนดโครงสร้างข้อมูลให้กับตัวแปรตามต้องการแล้ว ต่อไปคือขั้นตอนที่เราจะสร้างตัวแปรจากโครงสร้างที่เราได้กำหนดไว้ โดยมีรูปแบบดังนี้ หากกำหนดโครงสร้างในรูปแบบที่ 1 struct ชนิดของข้อมูลชนิดโครงสร้าง ชื่อตัวแปร; เช่น struct student stu1, stu2; หากกำหนดโครงสร้างในรูปแบบที่ 2 ชนิดของข้อมูลชนิดโครงสร้าง ชื่อตัวแปร; เช่น STUDENT stu1, stu2;

การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรชนิดโครงสร้าง คล้ายกับการกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์ กำหนดค่าไว้ใน { } และแยกค่าแต่ละค่าด้วยเครื่องหมาย , (comma) เช่น หากกำหนดโครงสร้างในรูปแบบที่ 1 struct student stu = {101, “Steve”, “Josh”, “CS”, “RENVI”}; หากกำหนดโครงสร้างในรูปแบบที่ 2 STUDENT stu = {101, “David”, “Paul”, “IT”, “RENVI”};

การอ้างถึงสมาชิกในตัวแปรชนิดโครงสร้าง การอ้างถึงตัวแปรหรือสมาชิกแต่ละตัวในตัวแปรประเภท struct สามารถทำได้ด้วยรูปแบบดังนี้ ชื่อตัวแปรชนิดโครงสร้าง.ชื่อตัวแปรสมาชิก

การกำหนดข้อมูลให้กับตัวแปรชนิดโครงสร้าง การกำหนดค่าต้องกำหนดให้ถูกต้องตามชนิดข้อมูลของสมาชิก typedef struct { int stu_id; char stu_name[20]; char stu_surname[20]; }STUDENT; STUDENT stu; printf("Enter student ID: "); scanf(“____", __________); printf("Enter name: "); printf("Enter surname: "); scanf(“____", ___________); printf("ID: %d, Name: %s, Surname: %s", stu.stu_id, stu.stu_name, stu.stu_surname);}

การแสดงผลสมาชิกในตัวแปรชนิดโครงสร้าง (ต่อ) สมาชิกของตัวแปรชนิดโครงสร้างเป็นตัวแปรชนิดพื้นฐานเราจึงใช้คำสั่ง printf() ตามปกติ โดยใช้รหัสควบคุมการแสดงผลให้ถูกต้องตามชนิดข้อมูลสมาชิก typedef struct { int stu_id; char stu_name[20]; char stu_surname[20]; }STUDENT; STUDENT stu = {101, "Steve", "Jobs"}; printf("----- Student Info -----\n\n"); printf("Student ID: ____\n", __________); printf("Name: ____\n", __________); printf("Surname: ____\n", __________);

ตัวแปรชนิดโครงสร้างกับการใช้อาร์เรย์ เราสามารถสร้างตัวแปรอาร์เรย์ของตัวแปรชนิดโครงสร้างได้ ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องใช้ตัวแปรชนิดโครงสร้างตัวเดียวกันหลาย ๆ ตัว ตัวอย่างการใช้งาน typedef struct { int stu_id; char stu_name[20]; char stu_surname[20]; char major[20]; char faculty[20]; }; STUDENT stu[10]; stu[0] name surname major faculty …. stu[9] name surname major faculty ….

ตัวแปรชนิดโครงสร้างกับการใช้อาร์เรย์ (ต่อ) typedef struct { int stu_id; char stu_name[20]; char stu_surname[20]; }STUDENT; STUDENT stu[5]; for(i=0; i<5; i++){ printf("Enter student ID: "); scanf(“____", __________); printf("Enter name: "); printf("Enter surname: "); scanf(“____", ___________); printf("Added !\n\n"); } printf("%d. ID: ____\tName: ____\tSurname: ____\n", i+1,__________, __________, __________);

It’s Time to do your QUIZ :) http://www.renvi.src.ku.ac.th