Two component Systems Pi = xi Pi* Vapour Pressure Diagrams: สาร A + B

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ครูนารีรัตน์ พิริยะพันธุ์สกุล โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
Advertisements

โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
วิธีสารแยกสารเนื้อผสม การใช้มือหยิบออก,เขี่ยออก
สมดุลเคมี.
ตอนที่ 1 ก๊าซละลายในของเหลว
ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
พลังงานในกระบวนการทางความร้อน : กฎข้อที่หนึ่งของอุณหพลศาสตร์
สมดุลกล (Equilibrium) ตัวอย่าง
“Non Electrolyte Solution”
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
Chemical Thermodynamics and Non-Electrolytes
3. ของเหลว 3.1 สมบัติทั่วไปของของเหลว ความดันไอ จุดหลอมเหลว และ
dU = TdS - PdV ... (1) dH = TdS + VdP ...(2)
(Colligative Properties)
การวัดค่าความดันไอ และสมการของเคลาซิอุส-กลาเปรง
Introduction to The 2nd Law of Thermodynamics
ความเค้นสัมผัส (contact stress)
1. วัฏภาค (Phase) 2. ของแข็ง สารทุกชนิดมีสมดุลระหว่างวัฏภาค
เทอร์โมเคมี (Thermochemistry).
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ความสัมพันธ์ระหว่าง DG กับ อุณหภูมิ
กฎข้อที่สามของเทอร์โมไดนามิกส์
F = C - P + 2 Free Energy and Phase Equilibria The Phase Rule
Phase equilibria The thermodynamics of transition
Laboratory in Physical Chemistry II
Polymer พอลิเมอร์ (Polymer) คือ สารประกอบที่มีโมเลกุลขนาดใหญ่ และมีมวลโมเลกุลมากประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า มอนอเมอร์มาเชื่อมต่อกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
การทดลองที่ 1 การหาความดันไอและความร้อนแฝง ของการเกิดไอของน้ำ
(GAS - EQUATION OF STATE)
มวลโมเลกุลของของเหลวที่ระเหยง่าย
การทดลองที่ 5 Colligative property
เทคนิคการประเมินผลการเรียนการสอน (การให้ระดับคะแนน:เกรด)
ME Exp/Lab 1, Section 8, year 2009
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
จำนวนนับใดๆ ที่หารจำนวนนับที่กำหนดให้ได้ลงตัว เรียกว่า ตัวประกอบของจำนวนนับ จำนวนนับ สามารถเรียกอีกอย่างว่า จำนวนเต็มบวก หรือจำนวนธรรมชาติ ซึ่งเราสามารถนำจำนวนนับเหล่านี้มา.
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส ว30231 ปริมาณสัมพันธ์ สถานะของสาร และเคมีไฟฟ้า
Mathematical Statement of the Problem
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
การคำนวณค่าสถิติเบื้องต้น … สถิติเชิงพรรณนา
2.5 ตัวแปรชุดมิติเดียวและตัวแปรชุดสองมิติ
Decision Limit & Detection Capability.
สารละลายและค่าการละลาย (Solution and Solubility)
Flow Control.
การวัดการกระจาย (Measures of Dispersion)
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
สัปดาห์ที่ 7 การแปลงลาปลาซ The Laplace Transform.
การแจกแจงปกติ NORMAL DISTRIBUTION
การแจกแจงปกติ.
ปริมาณสัมพันธ์ Stoichiometry : Chemical Calculation
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สรุปสถิติ ค่ากลาง ค่าเฉลี่ยเลขคณิต เรียงข้อมูล ตำแหน่งกลาง มัธยฐาน
คณิตศาสตร์ (ค33101) หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง สถิติ
บทที่ 4 การวัดการกระจาย
แผนภูมิสมดุล การผสมโลหะ (Alloy) คุณสมบัติของการผสม
หน่วยที่ 6 อุณหพลศาสตร์และการถ่ายเทความร้อน
รหัสวิชา ภาคต้น ปีการศึกษา 2556
ค่าคงที่สมดุล การเขียนความสัมพันธ์ของค่า K กับความเข้มข้นของสาร
การทดลองที่ 5 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
ปฏิบัติการเรื่อง การกลั่น
Confidence Interval Estimation (การประมาณช่วงความเชื่อมั่น)
การทดลองที่ 2 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I อัตราการเกิดปฏิกิริยา
การทดลองที่ 10 จุดเยือกแข็งที่ลดลง (Freezing Point Depression)
เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ปฏิบัติการเรื่อง การสกัดของเหลวด้วยของเหลว Liquid – Liquid Extraction
การทดลองที่ 5 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
สมบัติของสารละลาย (Colligative properties)
Water and Water Activity I
Property Changes of Mixing
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Two component Systems Pi = xi Pi* Vapour Pressure Diagrams: สาร A + B PA* Ptot เป็นไปตาม กฎของ Raoult P Liquid Vapour PB* Pi = xi Pi* xA 1

= xA PA* + (1- xA) PB* = xA PA* + PB* - xA PB* P = PA + PB = xA PA* + xB PB* = xA PA* + (1- xA) PB* = xA PA* + PB* - xA PB* = PB* + (PA* - PB*) xA แสดงว่า ที่อุณหภูมิใด ๆ ความดันไอรวมมีค่าระหว่าง (PA* - PB*) เมื่อ xA เปลี่ยนจาก 0 - 1

Composition of Vapour yA = PA yB = PB yA = xAPA* yB = 1 - yA PB* + (PA* - PB*) xA yB = 1 - yA

yA > xA yA = xAPA* yA = (PA* / PB*) xA PB* + (PA* - PB*) xA 1 + (PA* / PB*) xA- xA yA > xA ถ้า PA* / PB* >> 1

PA* / PB* แสดงเศษส่วนโมล ของสาร A ในไอ (yA) ที่ composition ต่าง ๆ (xA) เมื่อ ตัวเลขที่กำกับ เส้นกราฟแสดงค่า PA* / PB*

P = PB* + (PA* - PB*) xA อธิบายกราฟเส้นตรง liq อธิบายกราฟเส้นโค้ง vapor

แสดงค่า total vapor pressure (P/PA *) ที่ composition ต่าง ๆ (yA) PA* / PB* =1 แสดงค่า total vapor pressure (P/PA *) ที่ composition ต่าง ๆ (yA)

สารที่ระเหยง่าย (มีค่าความดันไอสูง) จะอยู่ในชั้นของไอของสาร แสดงให้เห็นว่า สารที่ระเหยง่าย (มีค่าความดันไอสูง) จะอยู่ในชั้นของไอของสาร มากกว่า สารที่ระเหยได้ยาก (มีค่าความดันไอต่ำ)

Ideal solution

isopleth tie line Lever Rule

All the liqiud has vaporized Liquid in a container exists in equilibrium with its vapour. All the liqiud has vaporized Pressure changes.

Bubble point line due point line

lb b nb Lever Rule nala = nblb a = liquid b = vapour

na la = nb lb nl = lv nv ll กฎลีเวอร์ (Lever Rule) ใช้ประโยชน์ในการคำนวณอัตราส่วนระหว่าง จำนวนโมล (ทั้งหมด) ในของเหลวและในไอได้ na la = nb lb a = liquid b = vapour nv ll nl = lv

At P1: lv/ll = nl/nv= At P2: lv/ll = 0.3 nl = 0.3 nv At P3: ?

(Boiling point diagram) แผนภาพของอุณหภูมิ - องค์ประกอบ แผนภาพของจุดเดือด (Boiling point diagram) ภายใต้ความดันคงที่

เส้นควบแน่น Temp. Vapour composition a2 = จุดเดือด a2’ = จุดควบแน่น l e t h เส้นจุดเดือด

คอมโพเนนท์ที่มีความดันไอสูง จะมีเศษส่วนโมลในไอ (yA) การกลั่น (Distillation) คอมโพเนนท์ที่มีความดันไอสูง จะมีเศษส่วนโมลในไอ (yA) มากกว่าในของเหลว (xA)

ถ้านำไอของสารละลาย ไปทำให้ควบแน่นเป็นของเหลว ของเหลวใหม่ จะมีคอมโพเนนท์ดังกล่าว ในสัดส่วนที่สูงกว่าเดิม

yA’ > yA และถ้านำของเหลวใหม่ไปทำให้เป็นไอ ไอที่ได้ จะมีเศษส่วนโมลของ คอมโพเนนท์ดังกล่าวสูงขึ้น yA’ > yA

การกลั่นลำดับส่วน Fractional Distillation การกลั่นควบแน่นซ้ำ ๆ กัน อย่างต่อเนื่อง ให้เพลท (plate) หนึ่งของคอลัมน์ มี T = T1 ให้อีกเพลทหนึ่งมี T = T2 เมื่อ T2 > T1

Number of effective vaporization and condensation steps การกลั่นลำดับส่วน fractional distillation การกลั่น (Distillation) the number of theoretical plates efficiency of fractionating column Number of effective vaporization and condensation steps

v l b ถ้าเราผ่านไอไปที่เพลทสูงกว่า (ลดอุณหภูมิ) : b Vapour composition บางส่วนของไอจะควบแน่นให้ของเหลวที่มีองค์ประ กอบ = l และ บางส่วนจะกลายเป็นไอที่มีองค์ประ กอบ = v Vapour composition I s o p l e t h v l b

องค์ประกอบ ของไอจะเลื่อน ลงมาตามแนว a2’ฎ a3’ Vapour composition l e t h องค์ประกอบ ของของเหลว จะเลื่อนลงมา ตามแนว a3 ฎ a2

N = 3 The number of theoretical plates = ? N = 5

สารละลายไม่สมบูรณ์แบบ Non ideal solution = Real soluition

Pi = xiPi* Pi = xixgiPi* Ideal solution : Non ideal solution : ความสัมพันธ์ระหว่างความดันไอของตัวทำละลาย ในสารละลาย กับค่าเศษส่วนโมลของตัวทำละลาย Pi = xiPi* Ideal solution : Pi = xixgiPi* Non ideal solution :

P = g2P2* + (g1P1*- g2P2*)x1 P = P2* + (P1* - P2*) x1 Ideal solution : ความสัมพันธ์ระหว่างความดันไอของสารละลาย กับค่าเศษส่วนโมลของตัวทำละลายในสารละลาย (x) Ideal solution : P = P2* + (P1* - P2*) x1 P = g2P2* + (g1P1*- g2P2*)x1 Non ideal solution :

P = g1g2P1* P2* g1P1*+ (g2P2* - g1 P1*)y1 Ideal solution : ความสัมพันธ์ระหว่างความดันไอของสารละลาย กับค่าเศษส่วนโมลของตัวทำละลายในไอ (y) Ideal solution : P = g1g2P1* P2* Non ideal solution : g1P1*+ (g2P2* - g1 P1*)y1

ไดอะแกรมของสารละลายไม่สมบูรณ์แบบ กรณีของสารละลายสมบูรณ์แบบมาก เช่น ที่คล้ายคลึงกับ กรณีของสารละลายสมบูรณ์แบบมาก เช่น CCl4 - Benzene MtOH - H2O

DHmix < 0 Negative deviation CHCl3 Chloroform - Acetone P O CH3-C-CH3 O DHmix < 0 1 xCHCl3 ฎ

P x

Azeotropes maximum “boiling without changing” high-boiling azeotrope

B Maximum azeotropes A - B stabilized liquid A - B reduce vapour pressure negative deviation A ตัวอย่าง เช่น HCl/water azeo. 80 % (w/w) water, bp. = 108.6oC

CA Tb/OC CB Tb/OC Azeotrope %WA T /OC ตาราง แสดงอะซิโอโทรปแบบจุดเดือดสูง CA Tb/OC CB Tb/OC Azeotrope %WA T /OC HCl - 80 H2O 100 20.22 108.6 CHCl3 61.2 CH3COCH3 56.1 78.5 64.4 C6H5OH 182.2 C6H5NH2 184.4 42 186.2

แสดงพฤติกรรมเบี่ยงเบนแบบบวก กรณีของ EtOH - Benzene แสดงพฤติกรรมเบี่ยงเบนแบบบวก ไปจากกฏของราอูลท์

P x

Minimum azeotrope low-boiling azeotrope

B Minimum azeotropes A - B destabilized liquid A - B increase vapour pressure positive deviation A ตัวอย่าง เช่น ethanol/water azeo. 4 % (w/w) water, b.p. = 78.2oC

CA Tb/OC CB Tb/OC Azeotrope %WA T /OC ตาราง แสดงอะซิโอโทรปแบบจุดเดือดต่ำ CA Tb/OC CB Tb/OC Azeotrope %WA T /OC H2O 100 C2H5OH 78.3 4.0 78.2 CCl4 76.8 CH3OH 64.7 79.4 55.7 CHCl3 61.2 CH3OH 64.7 87.4 53.4

สรุป ideal solution มี 1 แบบ P liquid vapor x

สรุป non ideal solution มี 3 แบบ 1) P liquid vapor x

1)

2)

3)

Immiscible Liquids

Hexane - Nitro benzene B-rich phase A-rich phase xB

Phase diagram of Palladium - Palladium hydride

Water - triethylamine Shows lower critical solution temp. low temp. Weak cpx.

fully miscible before boiling

no UCST e2 = boiling pt. b3 = two - phase mixture : compostions = b’3 and b”3 e2 = boiling pt.

เริ่มที่ a1 : Troom xB = 0.95 เดือดที่ 370 K : a2 liq. gets rich in B yB = 0.66 เดือดที่ 370 K : a2 liq. gets rich in B หยดสุดท้าย (pure B) เดือดที่ 390 K Tb range 370-390 K

Liquid - solid phase diagram สำหรับระบบแบบ two almost immiscible solids - completely miscible liquids lowest melting point

e = Eutectic point (ภ. กรีก) easy melted (two-phase system of pure A and pure B)

a2 ฎ a3 a1 ฎ a2 Pure solid B แยกออกมามากขึ้น Pure solid B เริ่ม แยกออกมา สลล.ที่เหลือ มี A เท่ากับ a2 a2 ฎ a3 Pure solid B แยกออกมามากขึ้น สลล.ที่เหลือมี A มากขึ้น ไปอีก (ดูตำแหน่งของ b3 เทียบกับ a2 ) (two-phase system of pure A and pure B)

a3 ฎ a4 end of step : มีของเหลวเหลือ น้อยกว่า a3 composition = e ของเหลวทั้งหมด จะกลายเป็น ของแข็ง คือ pure B และ pure A ผสมกัน (two-phase system of pure A and pure B)

a2 : solid B precipitated stop at a4 eutectic pt.

Reacting systems A + B ฎ C a1 : excess B with A C + unreacted B

2Na + K ฎ Na2K ?

ขอให้โชคดีในการสอบทุกคนค่ะ