Welcome to Electrical Engineering KKU.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ไฟฟ้ากระแสสลับ Alternating Current
Advertisements

ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating Current)
CHAPTER 9 Magnetic Force,Materials,Inductance
บทที่ 8 Power Amplifiers
วงจรลบแรงดัน (1).
แนะนำอิเล็กทรอนิกส์กำลัง (Power Electronics)
ตอบคำถาม 1. วงจรไฟฟ้า หมายถึง ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง
X-Ray Systems.
ตัวเก็บประจุ ( capacitor )
8. ไฟฟ้า.
โรงเรียนวัดปากน้ำฝั่งเหนือ
กระแส และ วงจรไฟฟ้ากระแสตรง
Physics II Unit 5 ความเหนี่ยวนำไฟฟ้า และ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ.
กฎของบิโอต์- ซาวารต์ และกฎของแอมแปร์
Physics II Unit 5 Part 2 วงจร RLC.
กระแสไฟฟ้า Electric Current
MAGNATICALLY COUPLED CIRCUITS
IDEAL TRANSFORMERS.
ลำโพง (Loud Speaker).
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
บทที่ 4 การแปรสภาพพลังงานกลไฟฟ้า
การซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์ (Intro.)
ดิจิตอลกับไฟฟ้า บทที่ 2.
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
CHAPTER 10 AC Power Analysis
ตัวเหนี่ยวนำ (Inductor)
PH114(SCE102) ปฏิบัติการฟิสิกส์ 2
หม้อแปลง.
การแปรผันตรง (Direct variation)
การคำนวณค่าไฟฟ้า.
ระบบไฟฟ้ากับเครื่องกล
การวัดและทดสอบการทำงานของวงจรเครื่องส่งวิทยุ
แม่เหล็กไฟฟ้า Electro Magnet
ไฟฟ้ากระแสตรง Direct Current
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
กำลังไฟฟ้าที่สภาวะคงตัวของวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
สัปดาห์ที่ 15 โครงข่ายสองพอร์ท Two-Port Networks (Part I)
Electrical Circuit Analysis 2
Sinusiodal Steady-State Analysis
การวิเคราะห์วงจรในโดเมน s Circuit Analysis in The s-Domain
สัปดาห์ที่ 5 ระบบไฟฟ้าสามเฟส Three Phase System.
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
ตัวเก็บประจุ (CAPACITOR)
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
สารกึ่งตัวนำ คือ สารที่มีสภาพระหว่างตัวนำกับฉนวน โดยการเปลี่ยนแรงดันไฟเพื่อเปลี่ยนสถานะ สมชาติ แสนธิเลิศ.
การต่อวงจรตัวต้านทาน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
การใช้งาน โวลท์มิเตอร์
เครื่องมือวัดทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ไดแอก ( DIAC ) .
การศึกษาวงจรและการซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์
เตาปิ้งย่างไฟฟ้า.
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) หน่วยและปริมาณทางไฟฟ้า
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ(ตอน 3)
ความรู้พื้นฐานทางวิศวกรรมไฟฟ้า(252282) กฎของโอห์ม การคำนวณและการวัด
วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ AC-Circuits Outline
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบผสม
รูปที่ 1 แสดงการต่อโหลดแบบขนาน
การอ่านสเกลบนหน้าปัดในการวัดแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง (DC.V )
หลักการกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
บทที่ ๗ เรื่องทฤษฎีของเทวินิน
บทที่ ๘ ทฤษฎีของนอร์ตัน
Stepper motor.
ความต้านทานที่ปรับค่าได้
ส่วนประกอบของวงจรไฟฟ้า
ทฤษฎีของมิลล์แมน.
ตอนที่ ๒ เรื่องการวิเคราะห์โนด
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Welcome to Electrical Engineering KKU.

กระแสไฟฟ้า ( Current ) กระแสไฟฟ้า คือ ปริมาณของอิเล็กตรอนซึ่งเคลื่อนที่ผ่านจุดใดจุดหนึ่ง ในเวลา 1 วินาที หน่วยวัดกระแสคือ แอมแปร์ ( Ampare ; A ) โดย 1 แอมแปร์มีค่าเท่ากับจำนวน 6.25 x1016 อิเล็กตรอน ที่เคลื่อนที่ผ่านจุดๆหนึ่ง ในเวลา 1 วินาที

ไฟฟ้ากระแส (current) แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1)ไฟฟ้ากระแสตรง ( Direct current ) เป็นกระแสไฟฟ้าที่มีทิศทางการไหล หรือขั้วของแหล่งจ่ายที่แน่นอนไม่มีการสลับขั้วบวกลบ เช่นกระแสไฟฟ้าจากถ่านไฟฉาย หรือแบตเตอรี่รถยนต์

2)ไฟฟ้ากระแสสลับ (Alternating current ) เป็นกระแสไฟฟ้าที่มีการเปลี่ยนแปลงทิศทางการไหลอยู่ตลอดเวลา โดยขั้วหรือประจุทางไฟฟ้าจะสลับบวก-ลบ ตลอดเวลา จากรูปเป็นการสร้างไฟฟ้ากระแสสลับโดยการหมุนขดลวดตัดกับสนามแม่เหล็ก ค่าของแรงดันไฟฟ้าที่ออกมาจะมีลักษณะเป็นสัญญาณรูปคลื่นซายน์ ( Sinusoidal wave ) ไฟฟ้ากระแสสลับ คลื่นรูปซายน์ของไฟฟ้ากระแสสลับ

แรงเคลื่อนไฟฟ้า ( Voltage) แรงเคลื่อนไฟฟ้าเป็นความดัน หรือแรง ในบางครั้งอ้างอิงเป็นแรงเคลื่อนไฟฟ้าตกคร่อม ( Potential Voltage Drop ) ซึ่งเป็นความแตกต่างของแรงเคลื่อนไฟฟ้าระหว่างปลายทั้ง 2 ของตัวนำที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ถ้าเราเปรียบเทียบกระแสไฟฟ้าเป็น ปริมาณน้ำที่ไหลผ่านท่อ แรงเคลื่อนไฟฟ้าก็คือ ความดันน้ำ

กำลังไฟฟ้า ( Power ) กำลังไฟฟ้าเป็นงานที่เกิดจากการกระทำกระแสไฟฟ้าในหนึ่งหน่วยเวลา มีหน่วยเป็น วัตต์ ( Watt ) กำลังของไฟฟ้ากระแสตรงได้มาจาก กำลัง = แรงเคลื่อนไฟฟ้า x กระแสไฟฟ้า P = VxI (Watt)

ตัวต้านทานหรือ resistor เป็นอุปกรณ์ที่จำเป็นมากสำหรับงาน อิเล็กทรอนิกส์ ทำหน้าที่จำกัดกระแสไฟฟ้า ถ้าหากตัวต้านทานมีค่ามาก กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านได้น้อย ถ้าความต้านทานมีค่าน้อยกระแสจะไหลผ่านได้มาก หน่วยความต้านทานคือ โอห์ม  V = I x R NOTE : อาจจะเปรียบเทียบว่า resistor เหมือนกับ ท่อน้ำ

การอ่านแถบสี สามารถอ่านได้จากตารางต่อไปนี้ การอ่านแถบสี สามารถอ่านได้จากตารางต่อไปนี้ ตัวอย่าง ตัวต้านทานตัวหนึ่งมีแถบสีดังนี้ น้ำตาล, ดำ , แดง , ทอง อยากทราบว่ามีค่าความต้านทานกี่โอห์ม แถบสี น้ำตาล ดำ แดง ทอง 1 x 100 ผิดพลาด 5%

อัตราทนกำลัง (Power) ความต้านทานมีอัตรากำลังซึ่งคิดออกมาเป็นวัตต์ จะหาได้จากสูตร P = IV = I2R =V2/R เมื่อ P คือ กำลังที่คิดค่าเป็นวัตต์ V คือแรงเคลื่อนไฟฟ้าที่คิดค่าเป็นโวลต์ R คือค่าความต้านทาน คิดค่าเป็นโอห์ม I คือค่ากระแสไฟฟ้ามีค่าเป็นแอมแปร์ P=I x V =0.2x9 =1.8 W ตัวอย่าง หา power

Resistor กับวงจรอนุกรม (series) Vรวม = V1 + V2 +...+VN i = i1 = i2 =…=iN

Resisitor กับวงจรขนาน ( parallel) i = i1 + i2 +…+ iN

Example1 Rรวม = R1+ R2 = 1 + 2 = 3 i = V / R = 10 / 3 A V1 =i x R1 = 1x(10/3) V V2 = i x R2 = 2x(10/3) V

ชนิดของ Resister มีด้วยกัน 2 แบบใหญ่ คือ 1.แบบค่าตายตัว 2.แบบปรับค่าได้