วิชา มรดก ครั้งที่ ๔ เมทินี ชโลธร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินการ จ้างแรงงานต่างด้าวกรณีพิเศษ (ขยาย ๑๒๐ วัน) (๑๕ ธันวาคม ๒๕๕๕ - ๑๔ เมษายน ๒๕๕๖) ตามมติ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม.
Advertisements

จดหมายกิจธุระ.
เรื่อง ระเบียบแก้ไขวันเดือนปีเกิด
กฎหมายมรดก.
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
วิชา มรดก โดย เมทินี ชโลธร.
ส่วนอำนวยความเป็นธรรม สำนักการสอบสวนและนิติการ
ความรู้เรื่องการจับกุม ตาม ป.วิ อาญา
การสืบสวน สอบสวน การสืบสวน
ขัดคำสั่งผู้บังคับบัญชา
อุทธรณ์.
โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร
กฎ ก.พ.ค. ว่าด้วยการร้องทุกข์และการพิจารณาวินิจฉัย เรื่องร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ( แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๕๒ )
วิชาว่าความและ การถามพยาน
4. โมฆกรรมและโมฆียกรรม (กลุ่มที่ 10).
เกี่ยวกับการเงินและการพัสดุ
เมื่อ ๕ ก.ย.๕๕ , ๐๙๐๐ ณ ห้องประชุม สธน.ทหาร
การกำหนดประเด็นสอบสวน
คำแนะนำในการตอบข้อสอบ
ขั้นตอนการพิมพ์สัญญาเงินกู้ยืมเงิน กยศ.ในระบบ e-studentloan..
พระราชบัญญัติ ควบคุมผลิตภัณฑ์ยาสูบ พ.ศ. ๒๕๓๕
วัตถุประสงค์ เพื่ออำนวยความสะดวก(แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่)
การกู้ยืมเงิน.
นายสุรเกียรติ ฐิตะฐาน
งานสารบรรณ สุภิสสา วรรธนาคม กลุ่มบริหารทั่วไป สำนักบริหารกลาง
คณะกรรมการหมู่บ้าน (กม.) กับการประนีประนอมข้อพิพาท
ระบบทะเบียนสมรส และ ระบบทะเบียนการหย่า.
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
การจัดการ งานสารบรรณแนวใหม่
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร
สำนักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล (สสร.)
การจดรายงานการประชุม
กฎ ก.พ. ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการ
กฎ ก.พ. ว่าด้วยการกระทำอันเป็นการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศ พ.ศ. ๒๕๕๓
พระราชกฤษฎีกา เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล 2553
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน กองทุนการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
กฎกระทรวง ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2555) ออกตามความในพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 20 เมษายน 2555.
โครงการฝึกอบรมการช่วยเหลือผู้ประสบภัย ณ จุดเกิดเหตุบนถนน
การตราข้อบัญญัติ (อบต.)
การทุจริตทางทะเบียนและบัตร
จงเตรียมรบให้พร้อมสรรพ์
การลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง
การตรวจสอบหลักฐาน เพื่อเชื่อมโยงสิทธิ ระหว่างผู้มีสิทธิกับบุคคลในครอบครัว ในการจัดทำฐานข้อมูลบุคลากรภาครัฐตามโครงการจ่ายตรงค่ารักษาพยาบาล
พินัยกรรมแบบธรรมดา วันที่ 13 เมษายน 2552
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2539
นิสิตผู้ขอกู้รายเก่าย้ายสถานศึกษา
การแสดงเจตนา ศ.ดร.กำชัย จงจักรพันธ์.
สำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑๐๑๒/ว ๒๐ ถนนพิษณุโลก กทม. ๑๐๓๐๐ ๓ กันยายน ๒๕๕๒
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ของผู้ช่วยพยาบาล(1)
บริการพยาบาลด้วยใจ ให้เข้าถึงสิทธิ ไม่ผิดกฎหมาย
พระราชบัญญัติการกลับไปใช้สิทธิ พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ
ทะเบียนราษฎร.
กระบวนการสมานฉันท์และสันติวิธี
การเขียนเชิงกิจธุระ.
ขั้นตอนการใช้พระราชบัญญัติ การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร
มาตรา ๑๔๔๙ การสมรสจะกระทำมิได้ถ้าชายหรือหญิง เป็นบุคคลวิกลจริต หรือเป็นบุคคลซึ่งศาลสั่งให้เป็น คนไร้ความสามารถ.
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ตาม พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ มาตรา 12
มาตรา ๑๔๕๒ ชายหรือหญิงจะทำการสมรสในขณะที่ตนมีคู่ สมรสอยู่ไม่ได้
แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ลาว กัมพูชาหลังวันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๖
ฎีกาที่ ๕๙๕/๒๕๓๔ การที่มีระเบียบการจดทะเบียนครอบครัวฯกำหนด
รองศาสตราจารย์ ดร.อุดม รัฐอมฤต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ทะเบียนราษฎร.
การดำเนินการเกี่ยวกับพนักงานราชการ
ให้รวมถึงบุคคลดังต่อไปนี้ด้วย
รับรองการเกิด.
การประเมินบุคคลและผลงานเพื่อแต่งตั้ง ให้ดำรงตำแหน่งนายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรม สาขา )
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารของราชการ
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชา มรดก ครั้งที่ ๔ เมทินี ชโลธร

แบบของพินัยกรรม (๗แบบ) แบบธรรมดา แบบเขียนเองทั้งฉบับ แบบเอกสารฝ่ายเมือง แบบเอกสารลับ แบบทำด้วยวาจา

☻แบบทำในภาวะการรบหรือการ สงคราม ☻แบบทำตามกฎหมาย ต่างประเทศ ☻แบบทำในภาวะการรบหรือการ สงคราม

พินัยกรรมแบบธรรมดา ทำเป็นหนังสือ - เขียน/พิมพ์ก็ได้ - ใครเขียน/พิมพ์ก็ได้ - ใช้ภาษาอะไรก็ได้

พินัยกรรมแบบธรรมดา ๒. ลงวัน เดือน ปี ที่ทำ - ทำให้รู้ว่าขณะทำผู้ทำมี ความสามารถหรือไม่ -ทำให้รู้ว่าทำก่อน/หลัง ฉบับอื่น - หากไม่ลงเป็นโมฆะ

พินัยกรรมแบบธรรมดา ๓. ผู้ทำพินัยกรรมต้องลงลายมือ ชื่อต่อหน้าพยานอย่างน้อย ๒ คน พร้อมกัน - ผู้ทำลงลายมือชื่อ/ลายพิมพ์ นิ้วมือก็ได้ แต่ใช้แกงไดฯไม่ได้ - ลงลายมือชื่อก่อน/หลังพยาน ก็ได้ แต่ต้องลงต่อหน้าพยานอย่าง น้อย ๒ คน พร้อมกัน

พินัยกรรมแบบธรรมดา ๔. พยานอย่างน้อย ๒ คน ต้องลงลายมือชื่อรับรอง ลายมือชื่อของผู้ทำพินัยกรรม ไว้ในขณะนั้น - ต้องลงลายมือชื่อเท่านั้น จะลงลายพิมพ์นิ้วมือ แกงไดฯ ไม่ได้

- พยานในพินัยกรรมกับพยาน ที่รับรองลายพิมพ์นิ้วมือผู้ทำเป็น คนเดียวกันได้ - พยานจะลงลายมือชื่อก่อน/ หลังผู้ทำก็ได้ แต่ขณะลงชื่อต้อง อยู่พร้อมกันทั้งผู้ทำและพยาน อย่างน้อย ๒ คน

การขูดลบ ตก เติม แก้ไข เปลี่ยนแปลงพินัยกรรมแบบธรรมดา การขูดลบ ตก เติม แก้ไข เปลี่ยนแปลงพินัยกรรมแบบธรรมดา ต้องกระทำด้วยวิธีเดียวกับ การทำพินัยกรรม ข้อ ๒. ถึง ๔ ผล เป็นไปตามที่แก้ไข แต่หากกระทำไม่ถูกต้อง ข้อความเดิมยังใช้บังคับได้

ฎีกาที่ ๑๑๐๓๔/๒๕๕๓ พินัยกรรมแบบธรรมดา - การที่พยานคนใด คนหนึ่งหรือทั้งสองคนในพินัยกรรมลง ลายมือชื่อโดยไม่เห็นเหตุการณ์ขณะทำ พินัยกรรม แต่มาลงลายมือชื่อในภายหลัง ย่อมไม่ชอบด้วยม.๑๖๕๖ วรรคหนึ่ง พินัยกรรมเป็นโมฆะ

แม้ต่อมาภายหลังพยานในพินัยกรรมมา สอบถามผู้ทำพินัยกรรมและได้ความว่า ประสงค์จะทำพินัยกรรมจริง ก็ไม่มีผล ทำให้พินัยกรรมที่เป็นโมฆะไปแล้วกลับ กลายเป็นพินัยกรรมที่สมบูรณ์ชอบด้วย กฎหมายไม่

ฎีกาที่ ๒๑๐๒/๒๕๕๑ พินัยกรรมที่ผู้ตายทำขึ้นใช้พิมพ์ดีดทั้งฉบับย่อม ไม่ใช่พินัยกรรมแบบเขียนเองแต่เป็นพินัยกรรม แบบธรรมดาที่ต้องมีพยานรู้เห็น และผู้ทำ พินัยกรรมต้องลงลายมือชื่อต่อหน้าพยานอย่าง น้อย ๒ คน พร้อมกัน การที่พยานในพินัยกรรมลง ชื่อในภายหลังจึงขัดต่อ ม. ๑๖๕๖ พินัยกรรมเป็น โมฆะ

ฎีกาที่ ๘๗๔๗/๒๕๕๐ สถานที่ทำพินัยกรรมไม่ใช่ข้อ สาระสำคัญของแบบพินัยกรรม ซึ่งจำต้องระบุไว้แต่อย่างใด ดังนั้นการระบุสถานที่ทำ พินัยกรรมผิดไปจากความจริง ไม่ทำให้พินัยกรรมต้องเสียไป

พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ ผู้ทำพินัยกรรมต้อง เขียนเองทั้งฉบับ -ให้คนอื่นเขียนไม่ได้ - ใช้พิมพ์ไม่ได้ - ถ้าปนกันดูว่าตัดส่วนที่ พิมพ์ไปแล้วเข้าใจได้หรือไม่

พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ ๒. ต้องลงวัน เดือน ปี ที่ทำ ๓. ผู้ทำพินัยกรรมลง ลายมือชื่อ - จะลงลายพิมพ์นิ้วมือ หรือแกงไดฯ ไม่ได้ทั้งสิ้น

พินัยกรรมแบบเขียนเองทั้งฉบับ การขูดลบ ตก เติม หรือแก้ไข เปลี่ยนแปลง ผู้ทำพินัยกรรมแก้ไขแล้วลง ลายมือชื่อกำกับ (ไม่ต้องลงวัน เดือนปี)

ฎีกาที่ ๑๒๒๓/๒๕๕๑ -ผู้ทำพินัยกรรมใช้แบบพิมพ์ พินัยกรรมของราชการทหาร -มีพยานลงชื่อ ๒ คน แต่คนหนึ่ง ปฏิเสธว่าไม่ได้ลงชื่อ เท่ากับมี พยาน ๑ คน ไม่ถูกต้องตาม ม. ๑๖๕๖ (แบบธรรมดา) เป็นโมฆะ

- แบบพิมพ์พินัยกรรมที่ใช้ พิมพ์ข้อความไว้ ครบถ้วนสมบูรณ์ เว้นช่องว่างไว้ให้กรอก เฉพาะสถานที่ วันเดือนปีที่ทำ ชื่อผู้ทำ/ผู้รับ กับ ลายมือชื่อผู้ทำ เท่านั้น หากตัดข้อความที่พิมพ์ ออกให้เหลือเฉพาะที่เขียนเองก็ไม่มีความหมาย เป็นพินัยกรรม จึงไม่เป็นพินัยกรรมแบบเขียน เองทั้งฉบับด้วยเช่นกัน

พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง ผู้ทำพินัยกรรมแจ้งข้อความที่ ประสงค์จะใส่ไว้ในพินัยกรรม แก่กรมการอำเภอต่อหน้า พยานอย่างน้อย ๒ คน - กรมการอำเภอ ปัจจุบันคือ นายอำเภอ/ผู้อำนวยการเขต

พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง ผู้รับแจ้งต้องเป็นนายอำเภอหรือ ผอ.เขต หรือผู้รักษาราชการแทน หรือผู้ได้รับมอบหมายฯ พยาน ๒ คน ไม่รวมกรมการอำเภอ และต้องอยู่พร้อมกันขณะผู้ทำฯ แจ้งข้อความ ทั้งต้องมีคุณสมบัติ เป็นพยานได้ด้วย

พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง ๒. กรมการอำเภอต้องจดข้อความที่ ได้รับแจ้งและอ่านให้ผู้ทำพินัยกรรม และพยานฟัง - จดเอง/ให้คนอื่นจดก็ได้ - ใช้เขียน/พิมพ์ก็ได้ - ไม่ต้องจดต่อหน้าก็ได้แต่ต้อง อ่านให้ฟัง และอ่านไม่พร้อมกันก็ได้

พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง ๓. ผู้ทำพินัยกรรมและพยานลง ลายมือชื่อ - ผู้ทำลงลายมือชื่อ/ลายพิมพ์นิ้ว มือก็ได้ แต่พยาน ๒ คนต้องลง ลายมือชื่อเท่านั้น - ไม่จำเป็นต้องลงลายมือชื่อ พร้อมกัน

พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง ๔. กรมการอำเภอต้องลงลายมือชื่อ วัน เดือน ปี และจดลงไว้ด้วยตนเอง ว่าพินัยกรรมทำขึ้นถูกต้องตามมาตรา ๑๖๕๘(๑) ถึง (๓) และประทับตรา ตำแหน่ง -หากไม่ประทับตราก็ไม่สมบูรณ์ แต่อาจสมบูรณ์ในแบบอื่นได้

พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง การขูดลบ ตก เติม หรือแก้ไข เปลี่ยนแปลง - ผู้ทำพินัยกรรม / พยานอย่าง น้อย ๒ คน/ กรมการอำเภอลงชื่อ กำกับ - ไม่ต้องลงวัน เดือน ปี

พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่าย เมืองอาจทำนอกที่ว่าการ อำเภอได้ เมื่อมีการร้องขอ ตามมาตรา ๑๖๕๙

พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ายเมือง การเก็บรักษาพินัยกรรม -เก็บไว้ที่อำเภอ -ถ้าผู้ทำพินัยกรรมขอเก็บเอง ต้องคัดสำเนาพร้อมลงชื่อและ ประทับตราตำแหน่งแล้วเก็บไว้ที อำเภอก่อน -ห้ามเปิดเผย

ฎีกาที่ ๘๑๘๙/๒๕๕๑ -ผู้ร้องขอให้ไปทำพินัยกรรมเอกสาร ฝ่ายเมืองให้ผู้ตายที่โรงพยาบาล ป.เป็นปลัดอำเภอแต่รักษา ราชการแทนนายอำเภอ การที่ ป. ไปทำให้จึงชอบ ก่อนไปผู้ร้องแจ้งให้ ป.ทราบ ข้อความที่ผู้ตายประสงค์จะใส่ใน พินัยกรรม

ป.ให้เจ้าหน้าที่พิมพ์ข้อความ ในพินัยกรรมไว้ก่อนแล้วจึงไป การกระทำดังกล่าวเป็นเพียง การอำนวยความสะดวกแก่ จนท.ไม่ต้องนำพิมพ์ดีดและ กระดาษไปพิมพ์ที่ โรงพยาบาล

-การที่ผู้ร้องแจ้งข้อความยังไม่ใช่ การแจ้งข้อความที่ประสงค์ของ ผู้ตาย - เมื่อถึงรพ.แล้ว ป.ถามผู้ตายว่า ประสงค์จะทำพินัยกรรมตามนั้น หรือไม่ ผู้ตายยืนยันต่อหน้าพยาน ๒ คน แล้ว ป.อ่านและให้ลงชื่อ รับรองพร้อมประทับตราตำแหน่ง ถือว่าชอบแล้ว

ฎีกาที่ ๘๐๔๕/๒๕๔๔ ปลัดอำเภอสอบถามความประสงค์ของผู้ตายขณะ ผู้ตายนอนป่วยในรถพยาบาล แล้วปลัดอำเภอกับผู้ ร้องเป็นคนบอกให้ พ.พิมพ์แล้วนำพินัยกรรมไป อ่านให้ผู้ตายฟัง จากนั้นนำกลับมาให้ พ.ลงชื่อเป็นผู้ พิมพ์และพยาน จึงฟังได้ว่าผู้ตายมิได้แจ้งข้อความ ที่ประสงค์จะใส่ไว้ในพินัยกรรมต่อหน้าพยานสอง คนพร้อมกัน

การแจ้งความประสงค์ต่อกรมการอำเภอต่อ หน้าพยานอย่างน้อย ๒ คน นั้น พยานต้องอยู่ ต่อหน้าโดยได้ยินผู้ทำพินัยกรรมแจ้งข้อความ มิใช่เพียงแต่เห็นมีการทำพินัยกรรมและเห็น ข้อความในพินัยกรรมเท่านั้น พินัยกรรมจึง ไม่สมบูรณ์ ไม่มีผลบังคับ

พินัยกรรมแบบเอกสารลับ ผู้ทำพินัยกรรมทำ พินัยกรรมและลงลายมือ ชื่อ - ลงลายมือชื่อ/ลายพิมพ์ นิ้วมือก็ได้(โดยมีผู้รับรอง) - ไม่ต้องลงวันเดือนปีก็ได้

พินัยกรรมแบบเอกสารลับ ๒. ผู้ทำพินัยกรรมต้องผนึก พินัยกรรมแล้วลงลายมือชื่อ/ ลายพิมพ์นิ้วมือคาบรอยผนึก - ถ้าใช้พิมพ์ลายนิ้วมือ พยานรับรองลายพิมพ์นิ้วมือก็ ต้องลงชื่อด้วย

พินัยกรรมแบบเอกสารลับ ๓. ผู้ทำพินัยกรรมนำไปแสดง ต่อกรมการอำเภอและพยาน อย่างน้อย ๒ คน พร้อมให้ ถ้อยคำว่าเป็นพินัยกรรมของ ตน -ไม่ต้องบอกเนื้อความ - ถ้าคนอื่นเขียนให้ก็ต้อง แจ้งชื่อและภูมิลำเนา

พินัยกรรมแบบเอกสารลับ ๔. กรมการอำเภอต้องจด ถ้อยคำและวัน เดือน ปี ที่นำ พินัยกรรมมาแสดงไว้บนซอง และประทับตราตำแหน่ง แล้ว กรมการอำเภอ ผู้ทำพินัยกรรม และพยานลงลายมือชื่อบนซอง

-แบบเอกสารลับทำนอกที่ทำการไม่ได้ ข้อสังเกต -ผู้ทำพินัยกรรมเป็นคนใบ้ หูหนวก พูดไม่ได้ - ใช้เขียนแจ้งแทนการให้ถ้อยคำและกรมการ อำเภอก็ต้องบันทึกบนซองไว้ -แบบเอกสารลับทำนอกที่ทำการไม่ได้ -เก็บที่อำเภอ แต่ถ้าผู้ทำขอเก็บเองก็ได้โดยไม่ ต้องคัดสำเนาไว้เหมือนแบบเอกสารฝ่ายเมือง

พินัยกรรมแบบทำด้วยวาจา เงื่อนไข ๑.ต้องมีพฤติการณ์ พิเศษ ๒.ต้องไม่สามารถทำ แบบอื่นได้

พินัยกรรมแบบทำด้วยวาจา ๑.ผู้ทำพินัยกรรมแสดงเจตนาต่อ หน้าพยานอย่างน้อย ๒ คน ซึ่ง อยู่พร้อมกัน ๒. พยาน ๒ คนไปแสดงตนต่อ กรมการอำเภอโดยมิชักช้าและ แจ้งข้อความนั้น รวมทั้งวันเดือนปี สถานที่ทำ และพฤติการณ์พิเศษ

พินัยกรรมแบบทำด้วยวาจา ๓. กรมการอำเภอจดข้อความที่ พยานแจ้งและพยาน ๒ คน ลง ลายมือชื่อ/ลายพิมพ์นิ้วมือ (โดย มีพยานรับรอง) ผลหากพ้น ๑ เดือน นับแต่ผู้ทำฯ อยู่ในฐานะที่จะทำแบบอื่นได้ พินัยกรรมด้วยวาจาสิ้นผลทันที

พินัยกรรมแบบทำตามกม.ต่างประเทศ เป็นกรณีคนไทยอยู่ในต่างประเทศ - ทำตามแบบของต่างประเทศ - ทำตามกม.ไทย – หน้าที่ของ กรมการอำเภอให้เป็นของพนักงาน ทูต/กงสุลฝ่ายไทย/พนง.ที่มีอำนาจ ตามกม.ของประเทศนั้น

พินัยกรรมในภาวะการรบหรือสงคราม เป็นกรณีอยู่ในภาวะการรบ/สงคราม หากทหารหรือผู้เกี่ยวข้องกับราชการ ทหารจะทำพินัยกรรม ไม่ว่าใน/ตปท. - นายทหารหรือทหารสัญญาบัตร= กรมการอำเภอ -ถ้าป่วยอยู่โรงพยาบาล -แพทย์= กรมการอำเภอ

ข้อสังเกตเกี่ยวกับแบบของพินัยกรรม -หากทำไม่ถูกตามแบบพินัยกรรม ย่อมเป็นโมฆะ (ตาม ม.๑๗๐๕) -แต่แม้ไม่ถูกต้องตามแบบหนึ่งแต่ ไปสมบูรณ์ในอีกแบบหนึ่งก็มีผล บังคับได้ (ดู.ม.๑๗๔)

ข้อสังเกตเกี่ยวกับแบบของพินัยกรรม (ต่อ) -อาจสมบูรณ์เป็นได้หลายแบบ -การขูดลบ ตกเติมฯ ไม่นำ ม. ๑๗๔ มาใช้ พินัยกรรมเป็นแบบใด การขูดลบ ตกเติมฯต้องใช้แบบนั้น เว้นแต่พินัยกรรมสมบูรณ์หลาย แบบ

ข้อสังเกตเกี่ยวกับแบบของพินัยกรรม (ต่อ) แบบเขียนเอง หากผู้ทำฯลงชื่อต่อ หน้าพยาน ๒ คน ก็สมบูรณ์เป็น แบบธรรมดาด้วย การขูดลบ ฯจึง ใช้ได้ทั้งสองวิธี ผู้ทำพินัยกรรมจะลงลายมือชื่อ หรือลายพิมพ์นิ้วมือก็ได้ ยกเว้น แบบเขียนเองต้องลงลายมือชื่อ เท่านั้น

ข้อสังเกตเกี่ยวกับแบบของพินัยกรรม (ต่อ) -พยานในพินัยกรรมต้องลงลายมือ ชื่อเท่านั้น เว้นแต่แบบทำด้วยวาจา พยานจะลงลายพิมพ์นิ้วมือ (โดยมี พยานรับรอง)ก็ได้ - พินัยกรรมทำด้วยวาจาเป็นแบบ เดียวที่มีระยะเวลาสิ้นผลกำหนดไว้

ข้อสังเกตเกี่ยวกับแบบของพินัยกรรม (ต่อ) -การขูดลบ ตก เติมฯเฉพาะ พินัยกรรมแบบธรรมดา เท่านั้นที่ ต้องลงวัน เดือน ปี ด้วย

ผลของพินัยกรรมที่มีเงื่อนไข เงื่อนไขบังคับก่อน สำเร็จก่อนผู้ทำฯตาย มีผล เมื่อผู้ทำพินัยกรรมตาย สำเร็จหลังผู้ทำฯตาย มีผล เมื่อเงื่อนไขสำเร็จ

ผลของพินัยกรรมที่มีเงื่อนไข เงื่อนไขบังคับหลัง สำเร็จก่อนผู้ทำฯตาย ข้อกำหนดไร้ผล สำเร็จหลังผู้ทำฯตาย ข้อกำหนดมีผลตั้งแต่ผู้ทำฯ ตาย สิ้นผลเมื่อเงื่อนไขสำเร็จ

ข้อสังเกต - ผู้ทำพินัยกรรมอาจกำหนดไว้ใน พินัยกรรมให้ความสำเร็จของ เงื่อนไขมีผลย้อนหลังไปถึงวันที่ ผู้ทำฯตาย -หากเงื่อนไขไม่อาจสำเร็จได้ แน่นอน ข้อกำหนดฯตกไปตาม มาตรา ๑๖๙๘ (๒)

ผลของพินัยกรรมที่มีเงื่อนเวลา เงื่อนเวลาเริ่มต้น ถึงกำหนดก่อนผู้ทำฯตาย ข้อกำหนดมีผลเมื่อผู้ทำตาย ถึงกำหนดหลังผู้ทำตาย ข้อกำหนดมีผลเมื่อถึงเวลานั้น

ผลของพินัยกรรมที่มีเงื่อนเวลา เงื่อนเวลาสิ้นสุด ถึงกำหนดก่อนผู้ทำฯตาย ข้อกำหนดไร้ผล ถึงกำหนดหลังผู้ทำฯตาย ข้อกำหนดสิ้นผลเมื่อถึงเวลานั้น