Leaf Monocots Dicots.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ศูนย์บริหารศัตรูพืช สแนท
Advertisements

เรื่อง การตอนกิ่งกลางอากาศ ชื่อต้นไม้ โกสน จัดทำโดย
วัชพืชในแม่น้ำเจ้าพระยา ปัญหาตามฤดูกาลที่ต้องแก้
วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
อาหารเสริมพืช สูตรนาโน
เรื่อง การเลี้ยงไส้เดือนแดงเพิ่มผลผลิตการเกษตร
การย่อยอาหารและการสลายสารอาหารระดับเซลล์
เซลล์และกระบวนการดำรงชีวิตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
หน่วยของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตประกอบด้วยหน่วยย่อยเล็กๆเรียกว่า เซลล์ 1.สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว เช่น อะมีบา พารามีเซียม ยีสต์ 2.สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ เช่น.
การลดปัญหาเนื้อแก้วยางไหล ในการผลิตมังคุดในภาคใต้
ธาตุอาหารพืช Macronutrients : N, P, K, Ca, Mg, S
Physiology of Crop Production
9. พฤติกรรมของสารเคมีกำจัดวัชพืชในต้นพืช
อาหารหยาบ หญ้าแห้ง.
วัตถุดิบแหล่งพลังงาน ผลพลอยได้จากเมล็ดพืชน้ำมัน
รายงาน เรื่อง ความหลากหลายของพืช
Cell Specialization.
1. ใบเดี่ยว (Simple Leaf)
หูใบ (stipule) ใบอาจจะมีหูใบ (stipulate) หรือไม่มี (exstipulate, estipulate) ก็ได้ หูใบอาจแบ่งออกเป็นหลายแบบ คือ Ligule, Free lateral Stipule, Ochrea,
Habit of Plant……....
Fiber Crops (พืชเส้นใย)
วิชา สรีรวิทยาของพืช (Plant Physiology)
วิชา สรีรวิทยาของพืช ( ) (Plant Physiology) วันที่ 8 มิถุนายน 2552
เรื่อง ความหลากหลายของพืชและสัตว์
เนื้อหาย่อยที่ 1 พืชมีดอก พืชไม่มีดอก
บทที่ 4 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ใบ Leaf or Leaves.
ราก Roots ราก Roots ราก  เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลงสู่ใต้ดิน รากมีหน้าที่ยึดลำต้นให้ตั้งบนดิน ดูดน้ำและแร่ธาตุที่สะสมอยู่ในดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืช.
การจำแนกพืช.
ชีววิทยา ม.4 การเคลื่อนที่ของสารผ่านเซลล์
ความอุดมสมบูรณ์ของดินกับการเจริญเติบโตของพืช
สมัยโชมอน.
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
เอกสารประกอบการเรียนรู้ วิชาชีววิทยา ว 40243
พืชสำหรับการกสิกรรม อาจารย์ธีระ เอกสมทราเมษฐ
ความหลากหลายของพืช.
ปาล์มขวด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Roystonea regia (H.B.K.) Cook
ด.ญ.พิม ขจรเวคิน ม.2/1 เลขที่ 11
จัดทำโดย นางกุลธิดา จินดา โรงเรียนบ้านแต้ชะบา(อสพป.38)
เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
นางสาวเพ็ญศรี กล่อมคุ้ม
การปลูกพืชกลับหัว.
ใบไม้.
บทที่ 4 พืชมีการตอบสนอง
นักเรียนเห็นอะไรบ้างค่ะ?
ทบทวนความรู้เดิม.
5.4 ปัญหา ปัจจัยและอุปสรรคในการศึกษา
ลักกะจันทน์ Dracaena loureiri Gagnep.
กล้วยไม้ ผู้จัดทำ 1. ด.ญ จิรสุดา ปักสำโรง ชั้น ป.4 เลขที่16
เรื่อง การสังเคราะห์แสง
เรื่อง พืช จัดทำโดย ด. ช. วณัฐกานต์ ไชยสิทธิ์ เลขที่ 14 ชั้น ม
หน่วยของสิ่งมีชีวิต จัดทำโดย ด.ญ.ปิยฉัตร ชนะศึก ชั้น ม.1/4 เลขที่ 2
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น แตกกิ่งก้านเป็นพุ่มทึบ กิ่งก้านคดงอ เปลือกต้นบาง ขรุขระเล็กน้อย สีเทาอมเขียว มียางสีขาวข้น.
What are the parts of a plant?. Vocabulary 1) Plant- พืช 7) Buds- ดอกตูม 2) Roots- ราก 8) Flower- ดอกไม้ 3) Stem- ลำต้นเล็ก 9) Fruit- ผลไม้ 4) Trunk-
ระบบขับถ่าย เรื่อง สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
บทปฏิบัติการที่ 14 ทางเดินอาหาร (Alimentary Canal) Digestive sys
ด.ช. อเนชา จันทคง เลขที่ 20 ชั้น 2/6.
Kingdom Plantae.
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างของพืชดอก (ใบ)
โครงสร้างและ หน้าที่ของราก
บทที่ 12 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชดอก
โครงสร้างของพืชดอก (ลำต้น)
Structure of Flowering Plant
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Leaf Monocots Dicots

ข้าวโพด ข้าว สับปะรด อ้อย ข้าวฟ่าง ต้นแก้ว กุหลาบหิน ใบพืช C3,C4,CAM

ประเภทของใบ ใบเดี่ยว (เส้นกลางใบ) (เส้นใบ) (ตัวใบ) (ก้านใบ) (หูใบ)

ใบประกอบ ประเภทของใบ (ก้านใบ) ไม่มีหูใบ (ก้านที่อยู่ระหว่างก้านใบย่อย) (หูใบ) (ก้านใบย่อย) (ใบย่อย)

ใบประกอบ กระถิน มะขาม จามจุรี มะพร้าว

Flowers Monocots: flower parts in 3’s Dicots: flower parts in 4’s, 5’s, 6’s

Seeds เปลือกหุ้มเมล็ด ใบเลี้ยง เยื่อหุ้มยอดอ่อน ใบที่เกิดจากยอดอ่อน เยื่อหุ้มรากอ่อน ยอดอ่อน รากอ่อน เศษของเปลือกหุ้มเมล็ด ใบเลี้ยง

สรุป

One cotyledon Two cotyledon

แรงดันราก (Root pressure) แรงดึงจากการคายน้ำ (Transpiration pull) การลำเลียงน้ำของพืช แรงดันราก (Root pressure) แรงดึงจากการคายน้ำ (Transpiration pull)

การดูดซึมน้ำของราก น้ำและแน่ธาตุจากดินจะถูกดูดซึมโดยขนรากผ่านชั้นคอร์เทกซ์จนถึงเอนโดเดอร์มีส โดย 2 วิธี คือ วิธีอะโพพลาสต์(Apoplast) วิธีซิมพลาสต์(Symplast)

Apoplast and Symplast ผ่านผนังเซลล์ที่ติดต่อกันและช่องว่างภายนอกเซลล์เรียกว่า วิธีอะโพพลาสต์(Apoplast)

Apoplast and Symplast ผ่านจากเซลล์ หนึ่งไปอีกเซลล์หนึ่งโดย ไซโทพลาสซึมเรียกว่าวิธีซิมพลาสต์(Symplast

แรงดันราก พืชดูดน้ำทางรากตลอดเวลาทำให้ปริมาณน้ำในรากมีจำนวนมากขึ้น เกิดแรงดันในรากสูง ดันน้ำไปสูงปลายยอดปลายราก Monometer

แรงดึงจากการคายน้ำ กระบวนการหนึ่งของการลำเลียงน้ำในท่อไซเลมและพืชคายน้ำทางปากใบทำให้เกิดแรงดึงในท่อไซเลม ดึงน้ำขึ้นสู่ลำต้นและใบได้

Hydathode เมื่อปากใบปิดน้ำจึงออกมาเป็นหยดที่ปลายของเส้นใบซึ่งมีรูเล็ก ๆ อยู่ที่ขอบใบ รูนี้เรียกว่า ไฮดาโธด Hydathode การเสียน้ำในรูปของหยดน้ำ เรียกว่า กัตเตชั่น Guttation

การลำเลียงอาหารของพืช

ระบบเนื้อเยื่อลำเลียงมีเนื้อเยื่อ 2 ชนิด Xylem Tracheid (No) Vessel member (No) Xylem parenchyma(Yes) Xylem fiber(No) Pholem Sieve tube member(Yes) Companion cell(Yes) Phloem parenchyma(Yes) Phloem fiber(No) ** ในพืชใบเลี้ยงคู่จะมี Vascular cambium คั่นกลางระหว่าง xylem กับ phloem

Xylem

Phloem

Xylem Phloem

Xylem Phloem

การเจริญเติบโตของรากและ ลำต้น การเจริญเติบโตของรากและ ลำต้น

7 6 5 8 3 2 1 4 Wood=เนื้อไม้ Bark=เปลือกไม้