Leaf Monocots Dicots
ข้าวโพด ข้าว สับปะรด อ้อย ข้าวฟ่าง ต้นแก้ว กุหลาบหิน ใบพืช C3,C4,CAM
ประเภทของใบ ใบเดี่ยว (เส้นกลางใบ) (เส้นใบ) (ตัวใบ) (ก้านใบ) (หูใบ)
ใบประกอบ ประเภทของใบ (ก้านใบ) ไม่มีหูใบ (ก้านที่อยู่ระหว่างก้านใบย่อย) (หูใบ) (ก้านใบย่อย) (ใบย่อย)
ใบประกอบ กระถิน มะขาม จามจุรี มะพร้าว
Flowers Monocots: flower parts in 3’s Dicots: flower parts in 4’s, 5’s, 6’s
Seeds เปลือกหุ้มเมล็ด ใบเลี้ยง เยื่อหุ้มยอดอ่อน ใบที่เกิดจากยอดอ่อน เยื่อหุ้มรากอ่อน ยอดอ่อน รากอ่อน เศษของเปลือกหุ้มเมล็ด ใบเลี้ยง
สรุป
One cotyledon Two cotyledon
แรงดันราก (Root pressure) แรงดึงจากการคายน้ำ (Transpiration pull) การลำเลียงน้ำของพืช แรงดันราก (Root pressure) แรงดึงจากการคายน้ำ (Transpiration pull)
การดูดซึมน้ำของราก น้ำและแน่ธาตุจากดินจะถูกดูดซึมโดยขนรากผ่านชั้นคอร์เทกซ์จนถึงเอนโดเดอร์มีส โดย 2 วิธี คือ วิธีอะโพพลาสต์(Apoplast) วิธีซิมพลาสต์(Symplast)
Apoplast and Symplast ผ่านผนังเซลล์ที่ติดต่อกันและช่องว่างภายนอกเซลล์เรียกว่า วิธีอะโพพลาสต์(Apoplast)
Apoplast and Symplast ผ่านจากเซลล์ หนึ่งไปอีกเซลล์หนึ่งโดย ไซโทพลาสซึมเรียกว่าวิธีซิมพลาสต์(Symplast
แรงดันราก พืชดูดน้ำทางรากตลอดเวลาทำให้ปริมาณน้ำในรากมีจำนวนมากขึ้น เกิดแรงดันในรากสูง ดันน้ำไปสูงปลายยอดปลายราก Monometer
แรงดึงจากการคายน้ำ กระบวนการหนึ่งของการลำเลียงน้ำในท่อไซเลมและพืชคายน้ำทางปากใบทำให้เกิดแรงดึงในท่อไซเลม ดึงน้ำขึ้นสู่ลำต้นและใบได้
Hydathode เมื่อปากใบปิดน้ำจึงออกมาเป็นหยดที่ปลายของเส้นใบซึ่งมีรูเล็ก ๆ อยู่ที่ขอบใบ รูนี้เรียกว่า ไฮดาโธด Hydathode การเสียน้ำในรูปของหยดน้ำ เรียกว่า กัตเตชั่น Guttation
การลำเลียงอาหารของพืช
ระบบเนื้อเยื่อลำเลียงมีเนื้อเยื่อ 2 ชนิด Xylem Tracheid (No) Vessel member (No) Xylem parenchyma(Yes) Xylem fiber(No) Pholem Sieve tube member(Yes) Companion cell(Yes) Phloem parenchyma(Yes) Phloem fiber(No) ** ในพืชใบเลี้ยงคู่จะมี Vascular cambium คั่นกลางระหว่าง xylem กับ phloem
Xylem
Phloem
Xylem Phloem
Xylem Phloem
การเจริญเติบโตของรากและ ลำต้น การเจริญเติบโตของรากและ ลำต้น
7 6 5 8 3 2 1 4 Wood=เนื้อไม้ Bark=เปลือกไม้