คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย พัชรี ยันตรีสิงห์ ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.นครปฐม เขต 2
Advertisements

จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
สื่อการสอนโดยใช้โปรแกรม Power Point
ความสำคัญของงานวิจัย เสนอ รศ.ดร.เผชิญ กิจระการ
จากรูปภาพ นักเรียนคิดว่าเป็นการแต่งกายของชนชาติใด??
กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน
ธรรมชาติและลักษณะของภาษา
การอ่านจับใจความเรื่องสั้น
อารมณ์และความต้องการของวัยรุ่น
วิธีการเขียนรายงานของปัญหาพิเศษ
ทักษะภาษาไทยที่นักเรียนควรทราบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 สุนทรียศาสตร์
การจัดระดับความเหมาะสมของรายการโทรทัศน์ : ทำไม อะไรอย่างไร โดยใคร ???
การวิเคราะห์ผู้เรียน
ภูมิปัญญาทางภาษา มีภูมิปัญญาไทยแฝงตัวอยู่มากมาย ทั้งการดำเนินชีวิต
การอ่าน วิชาศท ๐๓๑ การใช้ภาษาไทย.
ประโยคความเดียว ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีใจความเพียงใจความเดียวหรือประโยคที่มีประธานและมีกริยาตัวเดียว.
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนวชิรป่าซาง อ.ป่าซาง จ.ลำพูน
หลักการเขียนโน้มน้าวใจ ลักษณะของสารโน้มน้าวใจ
1 การอ่านตำรา การอ่านตำรา.
วิชา ทักษะภาษาไทยเพื่ออาชีพ
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
๔. ด้านการพัฒนาบุคลากร ของสถานศึกษา.
๕. ด้านผลลัพธ์/ภาพความสำเร็จ
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์
การฟังและการอ่านให้เกิดวิจารณญาณ
การอ่านเชิงวิเคราะห์
ความหมายของการวิจารณ์
เรื่อง การเขียนคำจากคำอ่าน
จัดทำโดย 1. นาย ยุทธพิชัย ตินรัตน์ ม.5/6 เลขที่ 4 2. นาย สิรภพ พิกุลทอง ม.5/6 เลขที่ นาย พีระทัด นาคดิลก ม.5/6 เลขที่ นาย ภานุวัฒน์ เพ็งผอม.
แก่นเรื่อง.
ขั้นตอนและหลักการคิดวิเคราะห์วรรณคดี
อ่านอะไรและอ่านอย่างไรเพื่อพัฒนาตนในด้านความรู้
การเขียน.
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส 41102
หัวข้อการเรียน ENL 3701 Week 5
ท วรรณกรรมปัจจุบัน.
การเขียนรายงาน.
การแบ่งหนังสือออกตามลักษณะการจัดทำและความเหมาะสมของผู้อ่านแต่ละกลุ่ม
ประเภทของวรรณกรรม.
การฟังเพลง.
หลักสตรูแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551
พระเวสสันดรชาดก.
การอ่านเชิงวิเคราะห์
องค์ประกอบของวรรณคดี
การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง
 มาจากภาษาอังกฤษว่า Literature เช่นเดียวกับวรรณกรรม สำหรับใน ภาษาไทยนั้นมีการใช้คำว่า " วรรณคดี " ก่อนภายหลังจึงได้เกิดมีคำว่า " วรรณกรรม " ขึ้น  คำว่า.
บทสนทนา การเดินเรื่อง มุมมองของกวี
องค์ประกอบของบทละคร.
ความหมายของการวิเคราะห์ วรรณกรรม
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๓ ENL 3701
ความหมายของการวิจารณ์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
คุณค่าวรรณคดีด้านวรรณศิลป์
ขั้นตอนและหลักการวิเคราะห์วรรณคดี
หน่วยที่ ๑๑ การศึกษาวรรณกรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ประเภทของการวิจารณ์.
ทักษะการอ่าน.
เรื่อง การฟัง ดู คิดและพูด ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
ความสำคัญ และ คุณค่า ของวรรณกรรม.
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ประวัติวรรณคดี
การเขียนบทวิจารณ์วรรณกรรม
หัวข้อการเรียน สัปดาห์ที่ ๔ ENL 3701
คำถามที่ให้ช่วยกันหาคำตอบ
กิจกรรมการสอนโดยใช้ “เพลง”
ระบบการจัดระดับความเหมาะสมของเกมคอมพิวเตอร์
ความสัมพันธ์ของการฟังและการดู ผู้สอน ครูณรงค์ฤทธิ์ ศักดารณรงค์
ชนิดของข้อมูล ลัทธพร วังทองหลาง ดารณี ทิพย์สิงห์
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
16. การเขียนรายงานการวิจัย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ ความหมายวรรณคดี วรรณคดี มาจากคำว่า วรรณ แปลว่า หนังสือ สี ผิว ชนิด เพศ ตัวอักษร คดี มาจากคำว่า คติ แปลว่า การไป การเคลื่อน แบบ

ความหมายวรรณคดี ทางแห่งหนังสือ รวมคำว่า วรรณคดี หมายถึง ทางแห่งหนังสือ เป็นภาษาอังกฤษว่า Literature

กระบวนการพิจารณาวรรณคดี ๑) วิเคราะห์ คือแยกแยะรายละเอียด องค์ประกอบต่าง ๆ ศึกษาภูมิหลัง ประวัติที่มาของเรื่อง ประวัติผู้แต่ง พิจารณาเนื้อหาของเรื่องว่าเป็นเรื่องเกี่ยว กับอะไรการดำเนินเรื่องเป็นอย่างไรลักษณะนิสัยตัวละครเป็นอย่างไร เหตุใดตัวละครจึงมีพฤติกรรมอย่างนั้น ๒) การวินิจฉัย คือการตีความว่ากวีใช้ถ้อยคำอย่างนั้นหมายความว่าอย่างไร มีเจตนาในการส่งสารอย่างไร ให้อารมณ์และความรู้อย่างไร ผู้อ่านแต่ละคนจะตีความไม่เหมือนกัน เพราะความรู้วัย และประสบการณ์ต่างกัน ๓) การวิจารณ์ คือการพิจารณากลวิธีการแต่ง การใช้ภาษา รูปแบบคำประพันธ์และเนื้อหาว่า สอดคล้อง ถูกต้อง เหมาะสมเพียงใด ๔) การวิพากษ์ คือการพิจารณาตัดสินว่าวรรณคดีเรื่องนั้น ๆ มีประโยชน์ หรือมีคุณค่าอย่างไร วรรณคดีมีคุณค่าสำคัญ 3 ประการ คือคุณค่าด้าน วรรณศิลป์ ด้านเนื้อหา และด้านสังคม

กระบวนการพิจารณาวรรณคดี ๑) วิเคราะห์ คือแยกแยะรายละเอียด องค์ประกอบต่าง ๆ ศึกษาภูมิหลัง ประวัติที่มาของเรื่อง ประวัติผู้แต่ง พิจารณาเนื้อหาของเรื่องว่าเป็นเรื่องเกี่ยว กับอะไรการดำเนินเรื่องเป็นอย่างไรลักษณะนิสัยตัวละครเป็นอย่างไร เหตุใดตัวละครจึงมีพฤติกรรมอย่างนั้น

กระบวนการพิจารณาวรรณคดี ๒) การวินิจฉัย คือการตีความว่ากวีใช้ถ้อยคำอย่างนั้นหมายความว่าอย่างไร มีเจตนาในการส่งสารอย่างไร ให้อารมณ์และความรู้อย่างไร ผู้อ่านแต่ละคนจะตีความไม่เหมือนกัน เพราะความรู้วัย และประสบการณ์ต่างกัน

กระบวนการพิจารณาวรรณคดี ๓) การวิจารณ์ คือการพิจารณากลวิธีการแต่ง การใช้ภาษา รูปแบบคำประพันธ์และเนื้อหาว่า สอดคล้อง ถูกต้อง เหมาะสมเพียงใด

กระบวนการพิจารณาวรรณคดี ๔) การวิพากษ์ คือการพิจารณาตัดสินว่าวรรณคดีเรื่องนั้น ๆ มีประโยชน์ หรือมีคุณค่าอย่างไร วรรณคดีมีคุณค่าสำคัญ 3 ประการ คือคุณค่าด้าน วรรณศิลป์ ด้านเนื้อหา และด้านสังคม