ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างของภาษา C ในโปรแกรมที่พัฒนาด้วยภาษา C ทุกโปรแกรมจะมีโครงสร้างการพัฒนาไม่แตกต่างกัน ซึ่งประกอบด้วย 6 ส่วนหลัก ๆ โดยที่แต่ละส่วนจะมีหน้าที่แตกต่างกัน.
Advertisements

Pointers. Why have pointers? / pointers ทำให้ฟังก์ชันหรือส่วนของ โปรแกรมสามารถใช้งานข้อมูลร่วมกันได้ / ใช้ pointers ในการสร้างโครงสร้างข้อมูลที่ ซับซ้อนได้
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ตัวแปรประเภทตัวชี้ (Pointer)
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ข้อมูลชนิดสตริง String บทที่ 8
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
Department of Computer Business
คำสั่งในการควบคุมโปรแกรม
การรับค่าและแสดงผล.
การรับและการแสดงผลข้อมูล
พอยน์เตอร์ (Pointer) Chapter Introduction to Programming
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
Principles of Programming
ตัวแปรชนิดโครงสร้าง (Structure)
Structure Programming
Array.
Structure.
LAB # 5 Computer Programming 1 1.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
รับและแสดงผลข้อมูล.
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
อาเรย์ (Array).
ฟังก์ชั่น function.
ตัวแปรชุด.
Lecture no. 6 Structure & Union
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
ตัวแปรแบบโครงสร้าง.
บทที่ 12 Structure and union Kairoek choeychuen
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
C Programming Lecture no. 9 Structure.
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
อาร์เรย์และข้อความสตริง
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ฟังก์ชัน ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ศูนย์คอมพิวเตอร์
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
ปฏิบัติการครั้งที่ 10 pointer. หน่วยความจำ หน่วยความจำนั้นเสมือนเป็นช่องว่างไว้เก็บ ของที่มีหมายเลขประจำติดไว้ที่แต่ละช่อง เพื่อใช้ในการระบุตำแหน่งของช่องได้
บทที่ 5 ฟังก์ชันกับอาร์เรย์ Function & Array
C language W.lilakiatsakun.
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
Week 2 Variables.
Computer Programming for Engineers
การประมวลผลสายอักขระ
การเขียนโปรแกรมประยุกต์ใช้งาน
Computer Programming for Engineers
ความหมาย การประกาศ และการใช้
ตัวแปรชุด Arrays.
Call by reference.
คำสั่งเกี่ยวกับการรับ และแสดงผล
Computer Programming การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
Output of C.
1. Global variable คือ ตัวแปรที่กำหนดหรือประกาศไว้นอกฟังก์ชันใด ๆ ทุกฟังก์ชัน สามารถนำตัวแปรประเภท Global ไปใช้ได้ทุกฟังก์ชัน.
บทที่ 9 การสร้างและใช้ งานฟังก์ชั่น C Programming C-Programming.
บทที่ 2 โครงสร้างของภาษา C.
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การเขียนโปรแกรม (ภาษาซี)
1 สตริง (String) การประกาศค่าตัวแปรสตริง การกำหนดค่าสตริง การอ้างอิงตัวอักษรแต่ละตัวในสตริง ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการจัดการสตริง ฟังก์ชั่นในการเปลี่ยนรูปแบบของสตริง.
บทที่ 6 ตัวแปรชุดและ สตริง รายวิชา ง การเขียนโปรแกรมเชิง วัตถุ Reading: ใบความรู้ บทที่ 6.
Function. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ให้รู้จักว่าฟังก์ชันคืออะไร ให้รู้จักว่าเราสร้างฟังก์ชันเพื่อจุดประสงค์ใด หรือ เพื่อประโยชน์ใด ให้รู้จักประเภทของฟังก์ชัน.
Programming assignments ชื่องาน (subject) : program เขียนด้วยภาษา C หรือ C++ มีทั้งหมด 7 ข้อ กำหนดส่ง 29 กรกฎาคม 2554.
บทที่ 10 การจัดการไฟล์ อาจารย์ศศลักษณ์ ทองขาว สงวนลิขสิทธิ์ © 2547 มหาวิทยาลัยราช ภัฏสงขลา C Programming C-Programming.
Variable, Constant. Variable คือชื่อที่ตั้งขึ้นมาเพื่อจองพื้นที่ใน หน่วยความจำสำหรับ พักข้อมูล.
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) Chapter 8 ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) เป็นการรวมกลุ่มของตัวแปรชนิดต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องกันรวมเข้าด้วยกัน โดยมีชื่อตัวแปรใหม่เพียงชื่อเดียว เพื่อความสะดวกใน การใช้งานกับข้อมูลที่มีความซับซ้อน และ มีขนาดใหญ่ เช่น ต้องการเก็บประวัติของนักเรียน เป็นต้น 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) รูปแบบ struct structure_name { type variablename1; type variablename2; ... type variablenameN; } structure_variable; เมื่อ structure_name คือ ชื่อของข้อมูลชนิดโครงสร้าง type คือ ชนิดของตัวแปรที่เป็นสมาชิก variablename คือ ชื่อตัวแปรที่เป็นสมาชิก structure_variable คือ ชื่อตัวแปรชนิดโครงสร้าง 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) Example struct student_history{ int id; char name[20]; int age; char *address; char *faculty; }student; 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) การเรียกใช้ การอ้างถึง และการกำหนดค่าข้อมูล การอ้างถึงตัวแปรที่เป็นสมาชิกในตัวแปรโครงสร้างนั้น สามารถทำได้โดยการระบุชื่อตัวแปรโครงสร้าง ตามด้วยจุด (.) และตามด้วยชื่อตัวแปรสมาชิกที่ต้องการอ้างถึง structure_variable.variablename เช่น student.name = “sila chunwijitra”; 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) การกำหนดค่าเริ่มต้น สามารถทำได้เช่นเดียวกับตัวแปรทั่ว ไป เพียงแต่การอ้างถึงแตกต่างกันเท่านั้น เช่น scanf(“%d”,student.id); gets(student.address); student.faculty = “computer business”; 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) #include <stdio.h> void main() { struct history{ int id; char name[20]; char *faculty; }student; printf(“Enter id,name,faculty : “); scanf(“%d”,&student.id); scanf(“%s”,student.name); scanf(“%s”,student.faculty); printf(“\nstudent detail”); printf(”\n\t ID : %d \n\t Name : %s \n\t Faculty : %s”,student.id, student.name,student.faculty); } 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) อาเรย์ของตัวแปรโครงสร้าง (Array of Structure) การกำหนดตัวแปรโครงสร้างให้เป็นอาเรย์นั้น สามารถทำได้เหมือนกับตัว แปรทั่วไป รูปแบบ struct structurename structurevariable[size]; เช่น struct history student[100]; 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) การอ้างถึงข้อมูลของอาเรย์ของตัวแปรโครงสร้างเหมือนกับการอ้างถึงข้อมูลในตัวแปรโครงสร้างทั่วไป เพียงแต่ต้องระบุตำแหน่งของข้อมูลในตัวแปรโครงสร้างที่ต้องการเท่านั้น เช่น student[0].id = 100; printf(“student name : %s“,student[10].name); 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) การส่งตัวแปรโครงสร้างให้กับฟังก์ชัน สามารถส่งค่าให้กับฟังก์ชันได้ 3 แบบ คือ 1. ส่งตัวแปรสมาชิกที่อยู่ในตัวแปรโครงสร้างไปยังฟังก์ชัน 2. ส่งพอยน์เตอร์ของตัวแปรโครงสร้างไปยังฟังก์ชัน 3. ส่งตัวแปรโครงสร้างทั้งหมดไปยังฟังก์ชัน 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) เป็นการส่งค่าของตัวแปรสมาชิกไปยังฟังก์ชัน เหมือนกับ การส่งค่าจากตัวแปรทั่วไป argument ของฟังก์ชันที่ใช้รับค่าก็เป็น ตัวแปรทั่วไป หรือเป็นการส่งแบบ Call by value เช่น function1(student.id); function2(student.name,student.faculty); 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) Example #include <stdio.h> void display(int id,int age); void main() { struct history{ int id; char name[20]; int age; }student; printf(“Enter id,name,age : “); scanf(“%d”,&student.id); scanf(“%s”,student.name); scanf(“%d”,&student.age); display(student.id,student.age); } 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) void display(int id,int age) { printf(“\nStudent ID = %d”,id); printf(“\nAge = %d”,age); } 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) ส่งพอยน์เตอร์ของตัวแปรโครงสร้างไปยังฟังก์ชัน เป็นการส่งที่อยู่ในหน่วยความจำของตัวแปรสมาชิกไปยังฟังก์ชัน ฉะนั้น argument ของฟังก์ชันที่ใช้รับค่าจะต้องเป็นตัวแปรพอยน์เตอร์ หรือเป็นการส่งแบบ Call by reference เช่น function1(&student.id); function2(&student.name,&student.faculty); 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) Example #include <stdio.h> void display(int *id,int *age); void main() { struct history{ int id; char name[20]; int age; }stdudent; printf(“Enter id,name,faculty : “); scanf(“%d”,&student.id); gets(student.name); scanf(“%d”,&student.age); display(&student.id,&student.age); } 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) void display(int *id,int *age) { printf(“\nStudent ID = %d”,*id); printf(“\nAge = %d”,*age); } 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) ส่งตัวแปรโครงสร้างทั้งหมดไปยังฟังก์ชัน เป็นการส่งข้อมูลของสมาชิกทั้งหมดในตัวแปรโครงสร้างไปยังฟังก์ชัน ในครั้งเดียวกัน ฉะนั้น argument ของฟังก์ชันที่ใช้รับค่าจะต้องเป็นตัวแปรโครงสร้างเช่นเดียวกัน และมีขนาดและโครงสร้างที่เหมือนกันกับตัวแปรโครงสร้างทางด้านส่ง เช่น function1(student); 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) Example #include <stdio.h> struct history{ int id; char name[20]; int age; }student; void display(struct history st); void main() { printf(“Enter id,name,age : “); scanf(“%d”,&student.id); scanf(“%s”,student.name); scanf(“%d”,&student.age); display(student); } 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business

ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data) void display(struct history st) { printf(“\nStudent ID = %d”,st.id); printf(“\nName = %s”,st.name); printf(“\nAge = %d”,st.age); } 231402 Introduction to Programming Department of Computer Business