BC322 ครั้งที่ 13 Array 2 มิติ BC322 Computer Programming-Array Processing.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Arrays.
Advertisements

ครั้งที่ 9 Function(ต่อ).
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
โดยอาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์ ครูชำนาญการ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ตัวแปรชุด การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1
การเขียนโปรแกรมด้วยคำสั่งเบื้องต้น
ข้อมูลชนิดสตริง String บทที่ 8
LAB # 2.
BC322 ครั้งที่ 10 ตัวแปรชุด (Array)
Introduction to C Programming
ทบทวน & ลุยโจทย์ (Midterm)
BC322 ครั้งที่ 6 Text file BC322 : computer Programming (Week6)
คำสั่ง while และ คำสั่ง do..while
ครั้งที่ 8 Function.
การรับค่าและแสดงผล.
ข้อมูลชนิดโครงสร้าง (Structure Data)
ตัวแปรชุด (Array) Chapter Introduction to Programming
สายอักขระและ การประมวลผลสายอักขระ (String and String manipulation)
Principles of Programming
Principles of Programming
Data Type part.II.
Lecture No. 3 ทบทวนทฤษฎีและแบบฝึกหัด
Structure Programming
Structure Programming
LAB # 5 Computer Programming 1 1.
Week 6 ประกาศค่าตัวแปร.
การแสดงผล และการรับข้อมูล
ตัวชี้ P O I N T E R Created By Tasanawan Soonklang
ตัวแปรชุด.
การประกาศตัวแปร “ตัวแปร” คือสิ่งที่เราสร้างขึ้นมาเพื่อใช้เก็บค่าต่างๆและอ้างอิงใช้งานภายในโปรแกรม ตามที่เรากำหนดขึ้น การสร้างตัวแปรขึ้นมาเราเรียกว่า.
Arrays.
Arrays.
ตัวแปรแบบโครงสร้าง.
บทที่ 12 Structure and union Kairoek choeychuen
บทที่ 6 ตัวแปรอาร์เรย์ (Array of Variable)
C Programming Lecture no. 6: Function.
ตัวแปรชุดของอักขระ String
ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ ประเภทของข้อมูลที่ผ่านมาส่วนใหญ่ในตอนต้นๆจะเป็นข้อมูลเดี่ยว โดยตัวแปรหนึ่งตัวสามารถเก็บข้อมูลได้หนึ่งตัว ถ้าหากต้องการเก็บข้อมูลหลายตัวจะต้องประกาศตัวแปรหลายตัว.
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
บทที่ 11 การเขียนโปรแกรมภาษาซี
หน่วยที่ 1 พื้นฐานภาษา C
หน่วยที่ 14 การเขียนโปรแกรมย่อย
อาร์เรย์และข้อความสตริง
อาร์เรย์ (Array).
ตัวแปร (Variable) คือ ชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อเก็บข้อมูลในหน่วยความจำ สามารถเก็บข้อมูลชนิดใดก็ ได้ ลักษณะที่สำคัญ ค่าที่จัดเก็บ เมื่อปิดโปรแกรมข้อมูลจะหายไป.
บทที่ 8 อาร์เรย์.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
Chapter 4 คำสั่งควบคุมทิศทาง
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน และ การเขียนผังงานและซูโดโค้ด
ง30212 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม
ฟังก์ชันรับข้อมูล ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวอักขระ (string) ง30212 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
แถวลำดับ (array) ง40202 การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
บทที่ 5 ฟังก์ชันกับอาร์เรย์ Function & Array
Week 2 Variables.
การประมวลผลสายอักขระ
Computer Programming for Engineers
Computer Programming for Engineers
คำสั่งเงื่อนไข (Condition Statement)
วิชา COSC2202 โครงสร้างข้อมูล (Data Structure)
ตัวแปร Array แบบ 1 มิติ การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
บทที่ 7 เงื่อนไขในภาษาซี
CONDITION Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka.
บทที่ 11 การจัดการข้อมูลสตริง
1 สตริง (String) การประกาศค่าตัวแปรสตริง การกำหนดค่าสตริง การอ้างอิงตัวอักษรแต่ละตัวในสตริง ฟังก์ชั่นที่ใช้ในการจัดการสตริง ฟังก์ชั่นในการเปลี่ยนรูปแบบของสตริง.
L/O/G/O อาร์เรย์ และฟังก์ชั่นจัดการ สตริง. วัตถุประสงค์ เข้าใจหลักการของอาร์เรย์ และประยุกต์ใช้ งานได้ เปรียบเทียบความแตกต่างของอาเรย์แบบต่าง.
Computer Programming Asst. Prof. Dr. Choopan Rattanapoka
บทที่ 11 พอยเตอร์ C Programming C-Programming. จันทร์ดารา Surin Campus : มีอะไรบ้างในบทนี้  ตัวแปรพอยเตอร์ (Pointer) เป็นตัว แปรที่แปลกและแตกต่างไปจากตัว.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

BC322 ครั้งที่ 13 Array 2 มิติ BC322 Computer Programming-Array Processing

เรื่องที่เรียนวันนี้ อาร์เรย์ 2 มิติ อาร์เรย์ 2 มิติ + ฟังก์ชัน BC322 Computer Programming-Array Processing

การประกาศตัวแปร Array 2 มิติ รูปแบบ ชนิดตัวแปร ชื่อตัวแปร[จำนวนแถว] [จำนวนคอลัมน์]; ตัวอย่าง int Age[2][10]; Age [0] [1] [2] [3] [4] [5] [6] [7] [8] [9] [0] [1] BC322 Computer Programming-Array Processing

จงประกาศตัวแปรอาร์เรย์ต่อไปนี้ เก็บส่วนสูงของนักศึกษา 3 Section ๆ 50 คน .................................... เก็บเก็บอายุของนักศึกษาเพศชายและหญิง อย่างละ 50 คน …………………………………. เก็บเงินเดือนของพนักงานบริษัท 4 แผนก ๆ 100 คน (พนักงานมีเงินเดือนสูงสุดเป็นหลักแสน) ..................................... BC322 Computer Programming-Array Processing

จงเก็บค่าลงในอาร์เรย์ Data ต่อไปนี้ [0] [1] [2] [3] [0] [1] [2] [3] [4] Data[0][0]=5 Data[0][1]=0 Data[1][3]=8 Data[2][2]=Data[1][3]/2 Data[3][2]=Data[0][0]+Data[1][3] Data[4][3]=10 Data[4][0]=6 Data[4][1]=Data[4][3]- Data[4][0] BC322 Computer Programming-Array Processing

Ex1 ต้องการเก็บค่าอายุนักศึกษา 3 กลุ่ม ๆ ละ 5 คน ในตัวแปร age ประกาศตัวแปรอาร์เรย์ .......................................... #include<stdio.h> void main() { int age[3][5]; for (i=0;i<3; ……….) for(j=0; ………. ; ……… ) { printf(“Enter age : “); scanf(“%d”, ……………); } BC322 Computer Programming-Array Processing

Ex2 จงแสดงค่าค่าตัวเลขทั้งหมดที่เก็บในอาร์เรย์ใน Ex1 เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ #include<stdio.h> void main() { int age[3][5]; for (…………………………………………….) ตัวอย่างผลรัน Section 1 : 20 18 15 30 17 Section 2 : 19 18 21 22 24 Section 3 : 18 18 21 20 19 BC322 Computer Programming-Array Processing

Ex3 จงเขียนโปรแกรมเพื่อรับคะแนนสอบ 2 วิชาของนักศึกษา 10 คน เก็บในอาร์เรย์(Score) แล้วคิดเกรดให้กับนักศึกษาทุกคนโดยมีเงื่อนไขในการคิดเกรด(grade)ดังนี้ คะแนนเป็น 0-50 ได้เกรด F คะแนนเป็น 51 -70 ได้เกรด B คะแนนเป็น 71-100 ได้เกรด A ตัวอย่างการรับค่าและแสดงผล Subject1 Score 1 : 50 Score 2 : 75 ... Score10 : 39 ============= Subject2 Score 1 : 69 Score 2 : 95 ผลลัพธ์ Subject1 Student1 got grade F Student2 got grade A ... Student3 got grade F **************** Subject2 Student1 got grade B BC322 Computer Programming-Array Processing

Solution Ex3 BC322 Computer Programming-Array Processing

BC322 Computer Programming-Array Processing

Ex 4 จงเขียนโปรแกรมเพื่อรับค่ายอดขายของร้านค้า 2 ร้านเก็บในอาร์เรย์ price และคำนวณหายอดขายรวมของร้านค้าแต่ละร้าน Price Total 10 25 15 30 50 65 ตัวอย่างการรับค่าและแสดงผล Shop1 enter price 1 : 10 enter price 2 : 25 enter price 3 : 15 ============= Shop2 enter price 2 : 30 enter price 3 : 25 ผลลัพธ์ Shop1 has 50 baht. Shop2 has 65 baht. BC322 Computer Programming-Array Processing

Solution Ex4 BC322 Computer Programming-Array Processing

ฟังก์ชันสำหรับเปรียบเทียบค่า (ข้อความ) strcmp(s1,s2); ผลลัพธ์ที่ได้จากฟังก์ชันเป็นเลขจำนวนเต็ม s1 = s2 จะได้ค่าผลลัพธ์ = 0 s1 < s2 จะได้ค่าผลลัพธ์ < 0 s1 > s2 จะได้ค่าผลลัพธ์ > 0 s1,s2 คือ ตัวแปรที่มีชนิดเป็นข้อความและมีข้อมูลอยู่ BC322 Computer Programming-Array Processing Header File ------> #include<string.h>

Ex5 : จงหาผลลัพธ์ของโปรแกรม #include<stdio.h> #include<string.h> void main() { char s1[20],s2[20]; printf(“Enter a string 1 : ”); gets(s1); printf(“Enter a string 2 : ”); gets(s2); if(strcmp(s1,s2) == 0) printf(“s1 Equal s2\n”); else printf(“s1 Not equal s2\n”); } ผลลัพธ์ Enter a string1 : Computer Enter a string1 : COMPUTER s1 Not Equal s2 BC322 Computer Programming-Array Processing

ฟังก์ชันสำหรับเชื่อมข้อความต่อกัน strcat(s1,s2); การเชื่อมข้อความ s1 กับข้อความ s2 ผลลัพธ์ที่ได้จะเก็บไว้ที่ s1 s1 คือ ตัวแปรที่มีชนิดเป็นแบบข้อความ ซึ่งจะต้องกำหนดขนาดเผื่อเอาไว้สำหรับ s2 ด้วย s2 คือ ค่าคงที่หรือตัวแปรที่มีชนิดเป็นข้อความ BC322 Computer Programming-Array Processing

Ex6: จงหาผลลัพธ์ของโปรแกรมต่อไปนี้ #include<stdio.h> #include<string.h> void main() { char s1[20], s2[10]; strcpy(s1,”Hi!!”); strcpy(s2,” Student”); strcat(s1,s2) printf(“%s\n”,s1); } ผลลัพธ์ Hi!! Student BC322 Computer Programming-Array Processing

การใช้อาร์เรย์ 2 มิติ + ฟังก์ชัน BC322 Computer Programming-Array Processing

Ex7 จงเขียนโปรแกรมเพื่อรับอายุเพื่อน 2 กลุ่ม ๆ 3 คนและแสดงผลโดยกำหนดให้มีโปรแกรมย่อย ดังนี้ โปรแกรมย่อยชื่อ Inputdata ใช้สำหรับรับค่าเก็บในอาร์เรย์ โปรแกรมย่อยชื่อ Displaydata ใช้สำหรับแสดงผลทีเก็บอยู่ในอาร์เรย์ ตัวอย่างการรับค่าและแสดงผล Group1 Please enter age1: 17 Please enter age2: 15 Please enter age3: 24 Group2 Please enter age1: 19 Please enter age2: 17 Please enter age3: 17 Group1: Friend1 = 17 years Group1: Friend2 = 15 years Group1: Friend3 = 24 years ================= Group1: Friend1 = 19 years BC322 Computer Programming-Array Processing

Solution Ex7 #include<stdio.h> void Inputdata(int a[2][3]); void Displaydata(int a[2][3]); void main() { int age[2][5]; Inputdata(age); printf("----------------------\n"); Displaydata(age); } /******************************/ void Inputdata(int a[2][3]) { int i,j; Solution Ex7 BC322 Computer Programming-Array Processing

Solution Ex7 void Displaydata(int a[2][5]) { int i,j; BC322 Computer Programming-Array Processing

Inputdata สำหรับรับค่าน้ำหนัก Minimum สำหรับหาค่า min EX8 จงเขียนโปรแกรมเพื่อรับค่าน้ำหนักของนักศึกษา 3 Section ๆ ละ 5 คนเก็บลงอาร์เรย์ weight แล้วหาว่าแต่ละ section มีน้ำหนักน้อยที่สุดเป็นเท่าไร โดยกำหนดให้มีโปรแกรมย่อยดังนี้ Inputdata สำหรับรับค่าน้ำหนัก Minimum สำหรับหาค่า min Report สำหรับแสดงค่า min ของแต่ละ section BC322 Computer Programming-Array Processing

ตัวอย่างการรับค่าและแสดงผล Ex8 Student in Section1 Enter student weight1 : 45.5 Enter student weight2 : 50 Enter student weight3 : 60 Enter student weight4 : 70.5 Enter student weitht5 : 45.8 ======= Student in Section2 Enter student weight1 : 90.5 Enter student weitht5 : 42.3 Student in Section3 Enter student weight3 : 43.2 Enter student weitht5 : 84.5 ======== Maximum weight of section1 is 70.50 kg. Maximum weight of section2 is 90.50 kg. Maximum weight of section3 is 84.50 kg. BC322 Computer Programming-Array Processing

Ex9 จงเขียนโปรแกรมเพื่อคิดเงินให้กับลูกค้าที่มาซื้อสินค้า จาก 2 แผนกๆ ละ 3 คนที่มาซื้อสินค้า โดยมีโปรแกรมย่อยดังนี้ โปรแกรมย่อยชื่อ Customer สำหรับรับจำนวนสินค้า และราคาสินค้าเก็บในอาร์เรย์ amt,price พร้อมทั้งคำนวณยอดเงินรวมเก็บในอาร์เรย์ total โปรแกรมย่อยชื่อ Calculate คำนวณหายอดเงินเฉลี่ยของแต่ละแผนก โปรแกรมย่อยชื่อ Minimum คำนวณหาว่าแผนกใดที่ทำยอดเงินเฉลี่ยได้น้อยที่สุด BC322 Computer Programming-Array Processing

ตัวอย่างผลรัน average of Department 1 is 31.67 Customer1 Enter amount : 10 Enter price : 2 Customer2 Enter amount : 15 Enter price : 1 Customer3 Enter amount : 20 Enter price : 3 ================= +++Department 2+++ Enter amount : 5 Enter price : 10 Enter amount : 30 ตัวอย่างผลรัน average of Department 1 is 31.67 average of Department 2 is 83.33 Minimum total is department1 BC322 Computer Programming-Array Processing