การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
คำสั่งควบคุมในโปรแกรม Interactive C
Advertisements

Chapter 8 : Logic Modeling & Data Modeling
รายวิชา ง40206 โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี
การจำลองความคิด รายวิชา ง40102 หลักการแก้ปัญหาและการโปรแกรม
บทที่ 2 ภาษาปาลคาลเบื้องต้น.
ลักษณะโครงสร้างของผังงาน
LAB 1 ให้นักศึกษาเขียน Flowchart โดยใช้โปรแกรม Microsoft Word วาดรูป Flowchart ส่ง Flowchart ที่วาดเสร็จแล้วในชั่วโมง และ print ใส่กระดาษ ส่งในครั้งหน้า.
บทที่ ๖ หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
การเขียนผังงาน.
โครงสร้างควบคุมและคำสั่งแบบเงื่อนไข
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
การแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
บทที่ 4 การตัดสินใจในการเขียนโปรแกรม
แผนผัง FlowChart Flow Chart คือ ขั้นตอนที่นำผลที่ได้จากการกำหนดและการ วิเคราะห์ปัญหามาเขียนเป็นแผนภาพหรือสัญลักษณ์ ประโยชน์ของผังงาน -ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของโปรแกรม.
เนื้อหา ประเภทของโปรแกรมภาษา ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม
วิชา การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์
โครงสร้างคำสั่งแบบเลือก (Selection)
คำสั่งเงื่อนไขและการควบคุม
โครงสร้างควบคุม 1. โครงสร้างควบคุมแบบวนทางเลือก
การจำลองความคิด
Surachai Wachirahatthapong
คำสั่งแบบมีเงื่อนไข IF Statement
การควบคุมทิศทางการทำงานของโปรแกรม
การเขียนผังงานแบบโครงสร้าง
ตัวอย่างการใช้คำสั่ง IF_THEN
คำสั่ง Repeat...Until คำสั่งควบคุมให้ทำงานซ้ำ
ตัวอย่างคำสั่ง FOR.
ตัวอย่างคำสั่ง CASE.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริธึม
Flowchart รูปแบบ If ซ้อน If ก็คือ การเอา If ไปไว้ใน If ทางฝั่ง True  โดยโครงสร้าง If ซ้อน If นั้นเอาไว้ใช้กับ กรณีตรวจสอบเงื่อนไขที่มากกว่า 2 กรณี เพราะเนื่องจาก.
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
LOGO SCCS031 Principle of Computer Programming Thinaphan Nithiyuwith Program of Computer Science & Information Technology suchada/
Chapter 6 Decision Statement
การเขียนผังงาน.
โครงสร้างแบบลำดับ คำสั่ง x คำสั่ง y.
การเขียนผังงาน จุดประสงค์ 1.อธิบายความของผังงานได้
คำสั่งควบคุมการทำงานของ ActionScripts
Flow Chart INT1103 Computer Programming
Week 3 Flow Control in PHP
การเขียนผังงานแบบทางเลือก
การเขียนผังงาน ผังงานคือ อะไร ?.
การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการแก้ปัญหา การนิยามปัญหา (Problem definition)
2.1 วิธีแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer problem solving methods)
บทที่ 10 คำสั่งควบคุม OUTLINE 1. คำสั่งแบบเรียงลำดับ (Sequence)
2.3.1 รหัสเทียม (Pseudo code)
การออกแบบโครงสร้าง (Structured Design)
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
หลักการเขียนโปรแกรม ( )
CHAPTER 4 Control Statements
การเขียนผังงาน (Flowchart)
PHP การตรวจสอบเงื่อนไข.
หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
หลักการแก้ปัญหา
การเขียนซูโดโค้ด และการเขียนโฟลชาร์ต
การแก้ปัญหาโปรแกรม (Flowchart)
โครงสร้างข้อมูลและอังกอลิทึม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเขียน Flow Chart.
บทที่ 6 คำสั่งเงื่อนไข.
การเขียนผังงาน ผังงาน (Flowchart)
การรับและแสดงผลข้อมูล (Input/Output)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
Chapter 05 Selection structure ผู้สอน อ. ยืนยง กันทะเนตร สาขาวิชาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ ng.
Problem Analysis and Algorithm in Programming (การวิเคราะห์ปัญหา และการจำลองความคิดในการเขียนโปรแกรมคอมฯ)
Computer Program คือ ขั้นตอนการทำงาน ของคอมพิวเตอร์
ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart)
อัลกอริทึม (Algorithm) ???
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การทำงานแบบเลือกทำ (Selection)

การพัฒนาขั้นตอนการทำงานแบบเลือกทำ การแก้ปัญหาที่ซับซ้อนมากขั้น ลักษณะการทำงานแบบลำดับอาจไม่สามารถทำการแก้ปัญหาได้ การตัดสินใจ ในการตรวจสอบเงื่อนไข มีโอกาสใช้ เพื่อเลือกทำงานที่เหมาะสมกับปัญหา วิธีในการอธิบายขั้นตอนการทำงานของ Algorithm และ Pseudo Code ก็จ ต่างกันออกไป

การพัฒนาการอธิบายลำดับขั้นตอนการทำงาน แบบเลือกทำจากผังงาน Algorithm ถ้า เงื่อนไข แล้วทำ 1. Process A มิฉะนั้นแล้ว 2. Process B

ตัวอย่าง Algorithm ถ้า a 5 แล้วทำ มิฉะนั้นแล้ว 1. ans a2

ขั้นตอนการปรับโครงสร้างผังงานการเลือกทำ ในบางครั้ง โครงสร้างของผังงานที่เขียนมาได้ไม่สามารถทำการเปลี่ยนให้เป็น อัลกอลิทึม หรือคำสั่งเทียมได้โดยตรง ต้องมีการปรับโครงสร้างของผังงานก่อน วิธีการปรับโครงสร้างของผังงานมี 2 ขั้นตอนคือ 1. เปลี่ยนเงื่อนไขที่ใช้ในการตัดสินใจในสัญลักษณ์การตัดสินใจให้เป็นเงื่อนไขตรงข้าม

เงื่อนไข เงื่อนไขตรงข้าม เงื่อนไข เงื่อนไขตรงข้าม A เท่ากับ B (A=B) A ไม่เท่ากับ B (A<> B) A มากกว่า B (A>B) A ไม่มากกว่า B หรือ A น้อยกว่าหรือเท่ากับ B (A <=B) A น้อยกว่า (A<B) A ไม่น้อยกว่า B หรือ A มากกว่าหรือเท่ากับ B (A>=B) 2. เปลี่ยนสัญลักษณ์ที่ใช้ในการกำกับทิศทาง หลังจากการตรวจสอบเงื่อนไข จาก Y เป็น N และจาก N เป็น Y

Flowchart ก่อนปรับโครงสร้าง

ขั้นตอนการทำงานในลักษณะของ Algorithm 1. a a + b2 2. c b + s 3. แสดงค่า a, b, c

การพัฒนาจากลำดับขั้นตอนการทำงาน แบบเลือกทำ เป็น คำสั่งเทียม IF แทนข้อความอธิบายว่า ถ้า THEN แทนข้อความอธิบายว่า แล้วทำ ELSE แทนข้อความอธิบายว่า มิฉะนั้นแล้ว

ตัวอย่าง Pseudo Code Algorithm If a > 5 then ถ้า a มากกว่า 5 แล้วทำ ans a + b Else ans a - b Algorithm ถ้า a มากกว่า 5 แล้วทำ 1. Ans a + b มิฉะนั้นแล้ว 2. Ans a - b

แบ่งการทำงาน (Process) ได้ 4 การทำงาน ตัวอย่าง แบ่งการทำงาน (Process) ได้ 4 การทำงาน 1. Start 2. รับค่า a 3. โครงสร้างผังงานการเลือกทำ โดยเปรียบเทียบเงื่อนไขว่า a > 0 หรือไม่ 4. จบการทำงาน

Algorithm 1. เริ่มต้น 2. รับค่า a 3. ถ้า a มากกว่า 0 แล้วทำ 1. เริ่มต้น 2. รับค่า a 3. ถ้า a มากกว่า 0 แล้วทำ 3.1 ans root a 3.2 แสดงค่า ans มิฉะนั้นแล้ว 3.3 a root a2 3.4 ans root a 3.5 แสดงค่า ans และคำว่า “J” 4. จบการทำงาน

คำสั่งในการเลือกทำ คำสั่งที่ใช้พิจารณาเงื่อนไขเพื่อที่จะเลือกทำคำสั่งใดเป็นคำสั่งถัดไป คือ IF - THEN - ELSE รูปแบบการใช้งาน

คำสั่งที่อยู่ถัดจาก then และ else มีได้เพียงคำสั่งเดียวเท่านั้น ถ้าต้องการมีมากกว่า 1 คำสั่งอยู่ภายใต้เงื่อนไขของการเลือก ต้องรวมให้เป็น คำสั่งรวม (compound statement) วิธีการคือ ใช้คำสั่ง begin และ end ช่วยในการรวมคำสั่ง โดยใช้ begin ในตำแหน่งเริ่มต้น และ end ในตำแหน่งสิ้นสุด

ตัวอย่าง การใช้งานคำสั่ง IF Program Example_IF (Input, Output); VAR a, b : Integer; c, d : Real; Begin Readln (a, c); If a = 1 Then d := c - (c * 0.03) Else begin Readln (b); d := c * 0.01 * b; d := (c + d) / b; end; Writeln (d:10:2); End.