ระบบบัส I2C I2C Bus System.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย หจก. มายคอม แอนด็ เอ็นจิเนียริ่ง
Advertisements

Combination Logic Circuits
ระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง (Multiprogramming System)
PCI EXPRESS.
Fast Page Mode DRAM (FPM DRAM) AND Extended-Data Output (EDO) DRAM
เครื่องบันทึกข้อมูลสำหรับสถานีไฟฟ้าย่อย Substation Data Logger
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของเครื่อง PC
บทที่ 9 การเลือกซื้อใช้งาน และ การติดตั้ง อุปกรณ์เครือข่าย
เทคโนโลยี 3G. เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G เทคโนโลยี 3G คืออะไร 3G หรือ Third Generation เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารในยุคที่ 3 อุปกรณ์การสื่อสารยุคที่ 3 เป็นอุปกรณ์ที่ผสมผสาน.
การจัดการอุปกรณ์รับ และแสดงผล
Switching Network Circuit Switching/Packet Switching
ภาษา SQL (Structured Query Language)
XD Card.
ข้อมูลระบบอินเตอร์เน็ตในโรงเรียนสำหรับผู้ใช้จำนวนไม่เกิน 1000 คน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
( Code Division Multiple Access)
Asynchronous Transfer Mode
ARP (Address Resolution Protocol)
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
DS30M DUAL FEED GUN.
Digital Data Communication Technique
Memory Internal Memory and External Memory
Sharing Communication Lines
Cable Twist-pair (สายคู่บิดเกลียว) Coaxial (สายโคแอกเชียล)
Memory Interface Memory Pin Connections 1. Address Inputs
RAM บทที่ 4.
Data Communication Chapter 2 OSI Model.
ACTUATOR SENSOR INTERFACE
ปฏิบัติการประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์
ระบบการสื่อสารข้อมูล (Data Communication System)
What’s P2P.
องค์ประกอบทางด้านซอฟต์แวร์
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
วงจรขยายความถี่สูง และ วงจรขยายกำลังความถี่สูง
สัปดาห์ที่ 14 ผลตอบสนองต่อความถี่ Frequency Response (Part II)
การวิเคราะห์วงจรโดยใช้ฟูริเยร์
Basic Programming for AVR Microcontroller
Smart Card นำมาประยุกต์ใช้งานด้านต่าง ๆ เช่น บัตรเครดิต, บัตรแทนเงินสด,บัตรแทนสมุดเงินฝาก,บัตรประชาชน,บัตรสุขภาพ,บัตรสุขภาพ,เวชทะเบียนหรือบันทึกการตรวจรักษา.
ตัวต้านทาน ทำหน้าที่ ต้านทานและจำกัดการไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
บทที่ 7 Deadlock Your company slogan.
แผงวงจรหลักและการรับส่งข้อมูล (Bus)
การโปรแกรมPLC.
กฤษ เฉยไสย ธวัตชัย สิ้นภัย ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Ethernet (802.3) มาตรฐานข้อกำหนดคุณสมบัติของ โปรโตคอล Ethernet
การจัดการฐานข้อมูล.
Fiber Optic (เส้นใยแก้วนำแสง)
ADSL คืออะไร.
สื่อกลางการสื่อสาร สื่อกลางแบบมีสาย 2. สื่อกลางแบบไร้สาย.
เครือข่ายแลนอีเทอร์เน็ต (Wired LANs : Ethernet)
เริ่มจากอดีต ตั้งแต่ยุคสมัยเริ่มต้น ของการใช้ PC มีการนำเอาสแตติกแรมมา ใช้ แต่ขนาดของ RAM ในขณะนั้นมีเพียง 8-16 กิโลไบต์ ซึ่งต้องใช้พื้นที่บอร์ด ขนาดใหญ่
ไอซีดิจิตอลและการใช้งาน
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ATM (Asynchronous Transfer Mode )
งานเทคโนโลยีสารสนเทศ โรงเรียนพนมเบญจา
รูปแบบการเชื่อมโยงเครือข่าย
1. Sequential Circuit and Application
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
NETWORK.
รูปร่างเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ในระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ และ การสื่อสาร กนกวรรธน์ เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
ซอฟต์แวร์ (software) จัดทำโดย นาย ยุทธพงศ์ คำยอง
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รูปแบ รูปแบบของคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย ด. ญ. สุภิญญา จันต๊ะนารี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/6 เสนอ ครูสายฝน เอกกันทา โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
การสื่อสารข้อมูล จัดทำโดย นางสาวกาญจนา แสงเพ็ชร
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แบบ Star จะเป็นลักษณะของการต่อ เครือข่ายที่ Work station แต่ละตัวต่อรวมเข้าสู่ ศูนย์กลางสวิตซ์ เพื่อสลับตำแหน่งของเส้นทาง ของข้อมูลใด ๆ ในระบบ ดังนั้นใน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบบัส I2C I2C Bus System

ทำความรู้จักกับระบบบัส I2C I2C ย่อมาจาก Inter IC Communication ถูกพัฒนาขึ้นมากว่า 20 ปีโดยบริษัท Philips สามารถควบคุม-ติดต่อ-สั่งงานระหว่าง IC เพียงสายสัญญาณ 2 เส้น สามารถต่ออุปกรณ์ร่วมบนบัสได้หลายตัวและแต่ละตัวไม่จำเป็นต้องมีไฟเลี้ยงวงจรที่เท่ากัน มีสายสัญญาณ 2 เส้น คือ SDA และ SCL เป็น bi-directional line มีความเร็วในการส่งข้อมูล 100K (bits/sec) ที่โหมดปกติ และที่ fast mode 400k (bits/sec) ที่ high speed mode 3.4M (bits/sec)

การเชื่อมต่อโมดูลในระบบสื่อสารแบบ I2C

โครงสร้าง I2C

หลักการทำงานของ I2C ในการใช้งานต้องต่อตัวต้านทานพูลอัปกับไฟ +5v ตลอดเวลาเพื่อป้องกันสัญญาณรบกวน วงจรเอาท์พุตที่ต่ออยู่บนบัสต้องมีลักษณะเป็น open drain หรือ open collector เท่านั้น อุปกรณ์ที่ต่อร่วมอยู่บนบัสต้องมีค่าความจุไฟฟ้ารวมที่เกิดขึ้นระหว่างสาย SDA และ SCL ไม่เกิน 400pf

สภาวะที่เกิดขึ้นบนบัส I2C มีดังนี้ - บัสว่าง SDA และ SCL สถานะเป็น ‘1’ - เริ่มต้นการส่งข้อมูล SDA ‘1’=>’0’ , SCL ‘1’ - ภาวะถ่ายถอดข้อมูล ลอจิกบน SDA คือข้อมูลและต้องคงที่ในขณะที่ SCL มีค่าเป็น ‘1’ - รับรู้ข้อมูล(ack) เป็นสัญญาณที่ SDA โดยอุปกรณ์รับหรือส่งจะผลิต ออกมาหลังจากที่ส่ง data หรือได้รับdata แล้ว จะส่งมา 1 บิต - หยุด(stop) SDA ‘0’=>’1’ , SCL ‘1’

ภาวะเริ่มและหยุด

สภาวะการส่งข้อมูล

ตัวอย่าง Bit sequence ของ CMPS03 write Read SDA SCL

การเข้าถึงอุปกรณ์บนบัส I2C การติดต่อกับอุปกรณ์บนบัส I2C ซึ่งมีหลายตัวนั้นได้มีการกำหนดรูปแบบการติดต่อขึ้นมาเรียกว่า BUS COMMUNICATION โดยการกำหนด Address ให้อุปกรณ์แต่ละตัว แบ่งเป็นการเข้าถึงแบบ 7 บิต และ 10 บิต

การเข้าถึงอุปกรณ์ I2C แบบ 7 บิต และ 10 บิต

การกำหนด Address แบบทั่วไป 7 บิต

ตารางเปรียบเทียบการทำงานของ I2C กับระบบอื่น

ตารางสรุปเปรียบเทียบข้อดีข้อเสียของระบบ Serial Bus

ตัวอย่าง อุปกรณ์ที่ใช้ I2C

CMPS03 เซนเซอร์ทิศทาง

ตัวอย่างการใช้ CMPS03 ติดต่อกับ BrainStem GP 1.0 Circuit Schematic